นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564

58 นิตยสาร สสวท.ิ ต ภา 1 แสดงการเชื่อมโยงของการดื้อต่อยาปฏิิชีวนะของแบคทีเรียในอุตสาหกรรม อาหาร ปศุสัตว์ และมนุษย์ ที่มา Bennani, et al., 2020 QUIZ สวัสดีีผู้้่านทุกคน ในเวลานี� การระบา ของโรคโควิ 19 ที่เริ่มจากสายพัันธุ์์�อ ู่่น กลายพัันธุ์มาเป็นสายพัันธุ์์ังกฤษ และฉบับที่แล้วต่ายกังวลเรื่องสายพัันธุ์์ังกฤษ แอฟริิกาใต้ และบราิ ล แต่สองเดืือนผ่านไป เราก็ได้้ทราบข่าวว่ามีไวรัสโควิ สายพัันธุ์์ินเดีียกำ �ลังระบา อยู่ในขณะนี� และต่ายไม่ได้้พููดถึึงในฉบับที่แล้ว ซึ่่� งคา การณ์ว่าสงครามระหว่างไวรัสโควิดกัับมนุษย์ จะยังไม่จบลงแค่สายพัันธุ์์ินเดีียเป็นแน่แท้ ตอนนี� ประเทศไทยเริ่มมองเห็นสัญญาณของการขา เตียงสำ �หรับผู้้่วยโควิ ที่่ีอาการหนักแล้ว เนื่องจากมีจำ �นวนผู้้่วยสะสมค้างอยู่ในโรง ยาบาลจำ �นวนมาก และมีจำ �นวนผู้้่วยใหม่มากกว่า 3,000 คนต่อวัน เป็นเวลาต่อเนื่อง ผู้้่วยใหม่มีทั� งคนที่่ังไม่ได้้รับวัคี นและคนที่ได้้รับการฉีดวััคี นแล้ว นั่นแส งให้เห็นได้้ชัดว่่า การฉี วัคี นจะช่วยล ความรุนแรงของอาการป่วยที่เกิ จากการติ เชื� อจากไวรัสโควิ แต่ไม่ได้้ช่วยล การติ เชื� อ ทำ �ให้ทุกๆ คน ต้องตระหนักเสมอว่า แม้ว่าเราจะได้้รับวัคี นแล้ว ยังมีโอกาสได้้รับเชื� อไวรัสโควิ ได้้ ดัังนั� น เราต้องใช้ชีวิตในแบบที่่้อง ระมั ระวังตัวอยู่เสมอ วันนี้้่ายมีแนวทางที่จะทำ �ให้มีสุขภาพแข็งแรง และระบบต่างๆ ภายในร่างกายทำ �งานดีขึ้น หากยังไม่สามารถเริ่มต้น ออกกำ �ลังกายได้ คงแปลกใจสินะว่าต้องทำ �อย่างไร ยุ่งยากมากไหม วิธีที่จะมาแนะนำ �วันนี้ได้รับการยืนยันแล้วจากการทดลองทาง วิทยาศาสตร์ วิธีที่่่าก็คือ การปรับชนิดอาหารและวิธีการเลือกชนิดอาหารนั่นเอง โดยถ้าเลือกได้ให้หันมากินอาหารที่สด สะอาด หลากหลาย ผ่านกระบวนการแปรรูปในโรงงานน้อยทีุ่่ด ไม่มีสารกันบูด พยายามปรับลด ปรับเปลี่ยนให้ได้ตามศักยภาพ เพราะเราคงไม่สามารถปลูก พืชหรือเลี้ยงสัตว์ได้ทุกอย่างที่เราอยากกิน นักวิทยาศาสตร์พบว่า ความหลากหลายของชนิดของแบคทีเรียในลำ �ไส้ (มีความหมายรวมทั้งแบคทีเรียที่่ีมีประโยชน์กับ ร่างกาย และแบคทีเรียที่่่อให้เกิดโรค) มีผลต่อสุขภาพและการเกิดโรคต่างๆ ของมนุษย์ และอาหารที่มนุษย์กินเข้าไปมีผลต่อชนิดของ แบคทีเรีย อาหารที่ไปรบกวนสมดุลของชนิดของแบคทีเรียในทางเดินอาหารของมนุษย์มากทีุ่่ดก็คือ อาหารที่ใส่สารกันบูด และอาหารที่่ี ยาปฏิิชีวนะตกค้างหรือปนเป้� อนอยู่ เมื่อเรากินเข้าไปจะเสมือนกินยาปฏิิชีวนะไม่ครบตามกำ �หนด กินขาดๆ หายๆ ทำ �ให้เชื้อแบคทีเรีย ภายในทางเดินอาหารเราเกิดการปรับตัวเพื่อให้มีชีวิตอยู่รอด ที่เราเรียกว่า การกลายพันธุ์หรือการดื้อต่อยาฆ่าเชื้อ นั่นเอง ในกรณีของสารกันบูด จะเห็นได้ชัดจากการส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์์บางอย่าง ซึ่่งเขาสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์์ออกมา โดยไม่ต้องใส่สารกันบูดได้ และนำ �เรื่องนี้มาเป็นประเด็นในการโฆษณาว่า ผลิตภัณฑ์์ของเขาไม่ใส่สารกันบูด และใช้คำ �สวยๆ ว่า “Preservative Free” หรือ “No Preservatives” แต่จะไม่บอกผู้บริโภคตรงๆ ว่า “คุณมากินยี่่้อของเราเถอะ ปลอดภัยกว่ายี่่้ออื่นที่ใส่สารกันบูด” จุดนี้้ึงเป็น จุดสังเกตอย่างหนึ่งในการเลือกซื้้อสินค้ากลุ่มนี้ สารกันบูดในอาหารนอกจากจะช่วยรักษาอาหาร ให้ไม่บูด เก็บไว้ได้นานๆ ทำ �ให้ขนส่งไปได้ไกลๆ สามารถซื้้อ เก็บตุนไว้กินยามที่อยากได้ สะดวก สบาย แต่ก็ต้องแลกกับ ความเสื่อมของสุขภาพในระยะยาว นอกจากนี้ สารกันบูดยังทำ � ให้แบคทีเรียหลายชนิดในลำ �ไส้ตาย ลดจำ �นวน หรือถึงขั้นหายไป จากลำ �ไส้ของเราได้ ทำ �ให้เกิดการกลายพันธุ์ ดื้อต่อยาปฏิิชีวนะได้ มีการศึกษาในเรื่องการกลายพันธุ์ของเชื้อแบคทีเรียในทางเดิน อาหาร อันเป็นผลมาจาก “สารกันบูดหรือยาปฏิิชีวนะ” ที่ใช้ ในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์และการแปรรูปอาหาร และส่งต่อ มายังมนุษย์โดยผ่านอาหารที่่ินเข้าไป คุณสามารถอ่านเพิ่มเติม ได้ใน Bennani, H., et al. (2020). Overview of evidence of antimicrobial use and antimicrobial resistance in the food chain. Antibiotics. 9 (2), 49. การดื้อยาปฏิิชีวนะที่ใช้อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร การดื้อยาปฏิิชีวนะในคน ยาปฏิิชีวนะใช้ในสัตว์ การดื้อยาปฏิิชีวนะในสัตว์

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1