นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564

59 ปีที่ 49 ฉบับที่ 230 พฤษภาคมี ที่ ั บี่ - มิถุนายน 2564ิ ถุน ต่่าย แสนซน่ า “สิ� งที่�ี ค่า ากกว่า เงิน อง คือ สุขภาพ จงใช้้ชีีวิิตอย่่างสุ ล” จากเรื่องที่่่ายเล่ามา คุณคิดว่าสารให้ความหวานที่ใช้แทนนำ� �ตาล จะเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคใดได้บ้าง ให้คุณลองหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตแบบไม่ต้อง ละเอียดและเป๊ะปังก็ได้ เมื่อหาคำ �ตอบได้แล้ว ให้ส่งไปที่ funny_rabbit@live.co.uk ภายในวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2564 โดยต้องใส่ที่อยู่่�ท จะให้จัดส่งของรางวัลมา ให้เรียบร้อย และถ้าต้องการให้ต่ายส่งสื่อดีๆ จาก สสวท. ไปให้โรงเรียนทีุ่่ณ เคยเรียน นึกถึง หรือโรงเรียนที่พบว่ามีปัญหาขาดแคลนสื่ออุปกรณ์การเรียน การสอน นอกเหนือจากของรางวัลทีุ่่ณได้รับ ขอให้คุณช่วยเขียนชื่อโรงเรียนที่ อยากให้ต่ายส่งของไปให้มาด้วย เพื่อที่กองบรรณาธิการจะได้ทำ �การจัดส่งสื่อจาก สสวท. ไปให้โรงเรียนได้นำ �ไปใช้ในการเรียนการสอนได้ สำ �หรับเฉลยของฉบับนี้ คุณสามารถ ติดตามอ่านได้ในฉบับที่ 232 จากคำ �ถามที่่่า จากข้อมูลทางสถิติของหน่วยงานภาครัฐ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562 คุณคิดว่า ในภาคใดของประเทศไทย ที่่ีประชากรสูงอายุมากทีุ่่ด คำ �ตอบก็คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่่งมีประชากรผูู้้งอายุที่่ีอายุ 60 ปีขึ้นไป จำ �นวนทั้งสิ้น 3,532,115 คน ผู้้�ท ตอบถูกก็คือ ด.ญ.ธนัชชา ศรีมหาพรหม ที่อยู่ บ้านเลขที่ 262 หมู่ 1 ต.นาโพธิ� อ.นาโพธิ� จ.บุรีรัมย์ 31230 รอรับ ของรางวัลได้เลยจ้า คำำถามฉบัั ที่่� 230 เฉลยคำำถามฉบัั ที่่� 228 ภา 2 ผลของสารที่ใส่ใปในอาหารสำ �เร็จรูปที่่ีต่อแบคทีเรีย บางชนิดในทางเดินอาหาร ที่มา (Gultekin, et al. 2020) นอกจากนี้ มีงานเขียนที่รวบรวมความรู้และงานวิจัยเกี่ยวกับสารต่างๆ ที่ใส่ไปในอาหารสำ �เร็จรูป ที่่ีผลต่อชนิดและจำ �นวนของแบคทีเรียที่ สำ �คัญในทางเดินอาหารของเรา และนำ �เสนอแผนภาพที่่ำ �ให้เข้าใจได้ ง่ายขึ้น สารที่่่านั้นก็คือ • สารให้ความหวานที่ใช้แทนนำ� �ตาล (Sweeteners) I) Saccharine, Sucralose, และ Aspartame II) Aspartame III) Saccharine และ Neosperidine DC IV) Maltitol V ) Xylitol และ Sorbitol • สารที่่ำ �ให้อาหารเป็นเนื้อเดียวกัน (Emulsifiers) VI) Carboxymethyl Cellulose และ Polysorbate 80 • สารให้สีในช็อกโกแลตและลูกอม (Food Colorants) VII) Silver และ Titanium dioxide • สารเพิ่มเนื้อสัมผัส (Thickeners ทำ �ให้เหนียว) VIII) Polydextrose • สารกันบูด (Preservatives) IX) Benzoic Acid จากภาพ 2 จะเห็นได้ว่า สารกันบูดที่อยู่ในอาหาร (หมายเลข IX) ทำ �ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจำ �นวนและความหลากหลายของแบคทีเรีย ในทางเดินอาหารมากทีุ่่ด สามารถอ่านเพิ่มเติมได้จาก Gultekin, F., et al. (2020). Food additives and microbiota. Northern clinics of Istanbul. 7 (2): 192.

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1