นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564

7 ปีที่ 49 ฉบับที่ 230 พฤษภาคมี ที่ ั บี่ - มิถุนายน 2564ิ ถุน ดร.จันทิรา ปัญญา • นักวิชาการอาวุโส บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร สำ �นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) • e-mail: juntira.pun@nstda.or.th รอบร้� วิทย์์ การทำ �ให้เกิ ภา บนกระ าษด้้วยแสงมีมามากกว่าร้อยปี ซึ่่� งค้น บโ ย เ อร์ จอห์น เฮอร์เชล ในปี คศ. 1842 โ ยใช้สารประกอบบางชนิ ของเหล็กที่่ีสมบัติไวแสงเคลือบไว้บนกระ าษ เมื่อนำ �ภา หรือเอกสารต้นฉบับ (ที่อยู่บนพื้� นโปร่งแสง) มาวางทาบบนกระ าษไวแสง แล้วนำ �ไปตากแ และล้างออกด้้วย นำ� �เปล่า จะเกิ ภาพขึ้� นมาเป็นลว ลายขาวบนพื้� นสีฟ้้า เรียกการเกิ ภา แบบนี� ว่า Cyanotype หรือ Blueprint ที่เราเรียกว่า พิิมพ์์เขียว ซึ่่� งเป็นเทคนิคที่่ิยมใช้กับงานเขียนแบบงานก่อสร้าง แต่หลังจากมีเครื่องถ่ายเอกสาร เกิดขึ้� นหลายชนิดจึึงทำ �ให้มีการใช้งานพิิมพ์์เขียวล ลง นอกจากนี� นักวิทยาศาสตร์คนเดีียวกันนี� ยังได้้ท ลอง นำ �สารสีไวแสงจากพืืชมาทำ �ให้เกิ ภา โ ยใช้แสงได้้ด้้วย และเรียกการเกิ ภา แบบนี� ว่า Anthotype ซึ่่� งคำ �นี� มีรากศัพท์์มาจากภาษากรีก Anthos ที่หมายถึง อกไม้ ในบทความนี้จะนำ �เสนอกิจกรรมที่ใช้สารสีไวแสงจากพืชมาทำ �ให้เกิดภาพแบบ Anthotype ซึ่่งเป็นกิจกรรมที่่ำ � ได้ง่ายจากเครื่องปรุงที่หาได้ภายในครัว ได้แก่ ผงขมิ้นและเบคกิ้งโ ดา โดยการเกิดภาพนั้นอาศัยสมบัติ 2 ประการของ สีธรรมชาติในขมิ้นคือ ความไวต่อแสง และการเปลี่ยนสีเมื่ออยู่ในสภาวะเบส ในเหง้าขมิ้นชันมีองค์ประกอบทางเคมีหลายชนิด ที่่ำ �คัญ ได้แก่ สารกลุ่มเคอร์คูมินอยด์ (Curcuminoids) พบประมาณ 3-5% ในขมิ้นบดแห้ง สารกลุ่มนี้้ีสีเหลืองและประกอบด้วยเคอร์คูมิน (Curcumin) ซึ่่งเป็นองค์ประกอบหลัก ประมาณ 80-85% ดีเมทอกซีีเคอร์คูมิน (Demethoxycurcumin) พบ 17-20% และ บิสดีเมทอกซีีเคอร์คูมิน (Bisdesmethoxycurcumin) พบ 1-3% จากการศึกษาวิจัยพบว่า สารเคอร์คูมินอยด์มีประโยชน์ต่อสุขภาพ มากมาย เช่น ต้านอนุมูลอิสระ ลดการอักเสบ ลดคอเลสเตอรอล ในเลือด ป้องกันตับจากสารพิษ และป้องกันการเกิดมะเร็ง แสงแดด ผงขมิ้้� น และเบกก้� งโซดา ทำำ �ให้้เกิดภาพได้อย่่างไร ภา 3 สูตรโครงสร้างของสารสำ �คัญในขมิ้นชัน Curcumin Demethoxycurcumin Bisdemethoxycurcumin ภา 2 ต้นขมิ้นชัน ภา 1 เหง้าและผงขมิ้นชัน ขมิ้้ � นชััน (Turmeric) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Curcuma L onga เป็นพืชวงศ์เดียวกับขิง ข่า และกระชาย ขมิ้นชันเป็นสมุนไพรที่คนส่วนใหญ่รู้้ักกันดี มีประวัติการใช้ มายาวนานจวบจนปัจจุบัน มีสรรพคุณเป็นที่ยอมรับในระดับ สากล จนเป็นสมุนไพรที่อยู่ในตำ �รายาของหลายประเทศใน เอเชีย เช่น อินเดีย จีน ญี่่�ป น ตลอดจนยุโรป เช่น เยอรมนี รวม ถึงในสหรัฐอเมริกา

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1