นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564
8 นิตยสาร สสวท.ิ ต เมื่อเคอร์คูมินทำ �ปฏิิกิริยากับสารที่่ีธาตุโบรอน เช่น บอแรกซ์์ (Borax) ในสภาวะที่เป็นกรด จะได้สารใหม่คือ โรโ ไ ยานิน (Rosocyanine) ที่่ีสีแดงสด ดังแสดงในสมการ สารเคอร์คูมิน เมื่ออยู่ในสภาวะที่เป็นเบส (pH 8-12) จะเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีจากคีโตฟอร์มซึ่่งมีสีเหลืองส้มเป็น อีนอลฟอร์มซึ่่งเป็นสีนำ� �ตาลแดง ดังภาพ 4 โ โซไซ านิน ก โบโิ ก เคอ์ คููมิน + ผงขมิ้้� น กระดาษวาดเขียน เบกก้� งโซดาหรือ โซเดีย ไฮโดรเจนคาร์บอเนต แผ่นใสภาพขาวดำ � Ethanol 95% รายการของที่่� ต้้องใช้้ จากความรู้้�ท ได้กล่าวมาแล้ว เรามาทำ �ให้เกิดภาพด้วยผงขมิ้นและสารเคมีบางชนิดกับแสงแดดกัน ภา 4 สีของสารเคอร์คูมินเมื่อมีโครงสร้างเป็นคีโตฟอร์มและ อีนอลฟอร์ม ที่มา https://www.kemifokus.dk/gurkemeje-og-curcumin/ เมื่อสารเคอร์คูมินถูกแสงแดด จะทำ �ให้โครงสร้างหลักของสารถูกทำ �ลายเปลี่ยนเป็นสารที่ไม่มีสี สารเหล่านี้ ได้แก่ กรดเฟอรูลิก กรดวานิลลิก เฟอรูลิกอัลดีไฮด์ และเฟอรูโลอิลมีเทน ดังสมการ Ferulic acid feruloyl methane Curcumin Ferulic aldehyde Vanilinic acid
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1