นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 231 กรกฎาคม - สิงหาคม 2564

คณะที่ปรึกษา ประธานกรรมการ สสวท. ผู้อำ �นวยการ สสวท. รองผู้อำ �นวยการ สสวท. บรรณาธิการบริหาร ธรชญา พันธุนาวนิช หัวหน้ากองบรรณาธิการ ณรงค์ศิลป์ ธูปพนม กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยผู้อำ �นวยการ ผู้อำ �นวยการสาขา/ฝ่าย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ/ผู้เชี่ยวชาญ ขจิต เมตตาเมธา จินดาพร หมวกหมื่นไวย ดร.ดวงกมล เบ้าวัน นันทฉัตร วงษ์ปัญญา ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ดร.ประวีณา ติระ ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว ดร.รณชัย ปานะโปย ดร.สนธิ พลชัยยา ดร.สุนัดดา โยมญาติ ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ เทอด พิธิยานุวัฒน์ นิลุบล กองทอง รัชนีกร มณีโชติรัตน์ ศิลปเวท คนธิคามี สินีนาฎ จันทะภา สิริมดี นาคสังข์ สุประดิษฐ์ รุ่งศรี เจ้าของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307 (ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท. หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย จักเป็นพระคุณยิ่ง) วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป 2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท. 3. เสนอความก้าวหน้า​ของวิทยาการในด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน การศึกษา​ของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน 4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี จากครูและผู้สนใจทั่วไป หลายท่านคงได้รับการวัคซีีนโรคโควิด-19 กันแล้ว และหลายกิจการเริ่มคลายล็อก แต่อาจจะมี ผู้้ิดเชื้อที่ไม่รู้้ัวอีกเป็นจำ �นวนมากที่ไม่ได้รับการตรวจหาเชื้อ ซึ่่งอาจมีผลให้ผูู้้งอายุหรือผู้้ี โรคประจำ �ตัวต้องเสี่ยงการติดเชื้อในบ้าน ดังนั้นทุกคนต้องยกระดับการป้องกันตัวเอง Universal Prevention หรือการป้องกันโรคขั้นสูงสุด เพื่อป้องกันโรคให้คุณและคนทีุ่่ณรัก การเรียนรู้แบบผสมผสาน คือ การจัดการเรียนรู้้� ท ี้านโดยใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาควบคู่ ไปกับการจัดการเรียนการสอนที่โรงเรียน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนของนักเรียน เลือกทำ �ได้ ในหลากหลายรูปแบบตามเครื่องมือที่่ี เปลี่ยนวิกฤตโควิด-19 ให้กลายเป็นโอกาสในการสร้างวิธี การเรียนการสอนแบบในรูปแบบใหม่ สสวท. ได้พัฒนาแพลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้้ิถีใหม่ Project 14 เน้นกระบวนการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ กระตุ้นให้นักเรียนคิด และค้นพบความรู้โดยสังเกตปรากฏการณ์รอบตัว เกิด Active Learning และบรรเทาปัญหาการเรียนการสอนในช่วง COVID-19 และเกิดความเท่าเทียม ทางการศึกษา เราได้รวบรวมความเห็นจากหลายโรงเรียนที่ได้ใช้ Project 14 ในช่วงที่่่านมา การขับเคลื่อนประเทศโดยใช้ BCG Model ซึ่่งเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจแบบองค์รวมใน 3 ส่วน ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว เพื่อการพัฒนาที่่�ย งยืนตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง โดยมีนักเรียนทั่วประเทศสนใจทำ �งานวิจัยอย่างต่อเนื่อง เพื่อร่วมพัฒนาโลกให้ยั่งยืน ผ่านโครงการ GLOBE ประเทศไทย โดย สสวท. ได้จัดการประกวดผลงานวิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และการประกวดนวัตกรรมในการอนุรักษ์ทรัพยากรนำ � �เป็นประจำ �ทุกปี ซึ่่งมีผลงานเข้าร่วมประกวดฯ เพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตน จากสถานการณ์โควิด-19 นิตยสาร สสวท. ขอปรับรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ ฉบับที่233 (พฤศจิกายน- ธันวาคม พ.ศ. 2564) เป็นฉบับสุดท้าย แต่ยังคงรูปแบบดิจิทัลต่อไป ผ่านเว็บไซต์์ emagazine.ipst.ac.th ตั้งแต่ฉบับที่ 234 เป็นต้นไป และขอขอบคุณที่่ิดตามนิตยสาร สสวท. ธรชญา พันธุนาวนิช บรรณาธิการบริหาร เปิิดเล่่ม สสวท. ปีีที่่� 49 ฉบัั ที่่� 231 กรกฎาคม - สิิงหาคม 2564

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1