นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 231 กรกฎาคม - สิงหาคม 2564
ข้อเสนอแนะหลังการจัดกิจกรรม บรรณานุกรม Wing, J. M. (2006). Computational thinking. Communications of the ACM. 49 (3): 33–35. Wing, J. M. (2006). Computational thinking. Retrieved August 3, 2021, from https://doi.org/10.1145/1118178.1118215. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). คู่มือการใช้หลักสูตร วิทยาศาสตร์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). สืบค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2564, จาก http://oho.ipst. ac.th/cs-curriculum-teacher-guide/. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). ตัี้ั และ าระ ารเรียนรู้แ น ลาง ลุ่ม าระ ารเรียนรูิ ทยาศา ตร์ (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลัู ตรแ น ลาง ารศึ าั้ นพื้นฐาน พุท ศั รา 2560. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). หนังื เรียนรายิ าพื้นฐานิ ทยาศา ตร์และเท โนโลยี ม.1 เล่ม 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. 13 ปีที่ 49 ฉบับที่ 231 กรกฎาคม - สิงหาคม 2564ี ที่ ั บี่ ิ ง ผลจากการทดลองจัดกิจกรรม นักเรียนได้เรียนรู้เนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์อย่างครบถ้วน วัดและประเมินผลได้จากการตอบ ค� ำถามระหว่างเรียนและท้ายบทเรียน รวมถึงชิ้นงานต่างๆ ในส่วนของทักษะการคิดเชิงค� ำนวณก็สามารถกระตุ้นให้นักเรียน เกิดการพัฒนาทักษะการคิดได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ก� ำหนดไว้ แต่ผู้เขียนมีข้อสังเกตและเสนอแนะว่า การผสมผสาน แนวคิดเชิงค� ำนวณที่สมบูรณ์ไม่จ� ำเป็นต้องแยกส่วนของทักษะการคิดเชิงค� ำนวณเป็นส่วนๆ ผู้สอนสามารถผสมผสานเป็นเนื้อเดียว โดยใช้ปัญหาที่ประกอบด้วยการใช้ทักษะการคิดเชิงค� ำนวณในการแก้ปัญหา ึ่งจะท� ำให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะต่างๆ อย่างเป็น ธรรมชาติและมีความหมายมากขึ้น แต่ประโยชน์ของการแยกส่วนทักษะในการวางแผนการสอนนั้น จะช่วยให้ผู้สอนเห็นถึง ความส� ำคัญและการเน้นทักษะการคิดเชิงค� ำนวณในแต่ละส่วนได้ และเชื่อมโยงไปกับการสอนแต่ละขั้นมากขึ้น นอกจากนี้ หากเพิ่มเติมการใช้เทคโนโลยีผสมผสานในการเรียนรู้ เช่น แอปพลิเคชันต่างๆ ในการสืบค้นข้อมูล การใช้ อินโฟกราฟิกในการน� ำเสนอข้อมูล จะท� ำให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนและประยุกต์ทักษะการคิดเชิงค� ำนวณไปสู่การใช้ในคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องมืออื่นๆ ึ่งเป็นเป้าหมายของการพัฒนาการเรียนรู้ในส่วนของทักษะความเข้าใจ และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่อยู่ใน มาตรฐานที่ 4.1 มากขึ้นด้วย ภาพ 6 ผลงานนักเรียนในการสรุปกระบวนการปฏิสนธิของพืช
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1