นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 231 กรกฎาคม - สิงหาคม 2564
36 นิตยสาร สสวท.ิ ต ยุพาพร ลาภหลาย • ผู้ช� ำนาญ ฝ่ายโลกศึกษาเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อม สสวท. • e-mail: ytipj@ipst.ac.th การเรียนกระ น ความคิด จากรายงาน The World Population Prospects 2019 ของ ฝ่ายเศรษฐกิิจและกิจการสังคม สหประชาชาติ (United Nations: UN) ซึ่่� ง คาดการณ์ว่า ในปี ค.ศ. 2050 จำ ำนวนประชากรโลกจะเพิ่มสูงขึ้นถึง 9.7 พันล้านคน และอาจจะเพิ่มสูงเกือบ 1.1 หมื่นล้านคน ในปี 2100 จำ ำนวนประชากรโลก ที่เพิ่มมากขึ้นนี้ ทำ ำให้มีความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในการดำ ำรงชีวิตเพิ่มมากขึ้นอย่าง รวดเร็ว จนกระทั่งแ งหน้าการเติบโตทางเศรษฐกิิจ ทรัพยากรเริ่มขาดแคลน ความหลากหลายทาง ชีวภาพลดลง การผลิตและการใช้พลังงานในรูปแบบต่างๆ เช่น ไฟฟ้า น้ำ ำ�ัน เพื่อการดำ ำรงชีวิตมี มากขึ้น ทำ ำให้มีการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกและแก๊สอื่นๆ อีกหลายชนิดออกสู่บรรยากาศ จนก่อ ให้เกิดมลพิษทางอากาศและทางน้ำ ำเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และผลกระทบตามมา เช่น เกิดความแห้งแล้ง การแพร่ระบาดของโรค น้ำ ำ�่วม ดินถล่ม หากเราไม่ร่วมกันปรับตัวหรือลด การพัฒนาสิ่งที่จะส่งผลเสียต่อการดำ ำรงชีวิตในปัจจุบัน เราคงจะต้องเผชิญกับปัญหาที่ตามมาอีกมากมาย จนไม่สามารถดำ ำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข ดังนั้น การพัฒนาที่่�ย งยืนเพื่อปรับความต้องการด้านเศรษฐกิิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมให้สมดุล จึงเป็นแนวทางที่่่วยให้เรายังคงดำ ำรงชีวิตอยู่ได้อย่างยั่งยืนร่วมกัน ต่อไป การพัฒนาที่่�ย งยืน (Sustainable Development) เป็นการพัฒนาทีู่่รณาการองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องทั้งหลายมาประสานกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล บนพื้นฐานของทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม การมีส่วนร่วมของประชาชนทุกกลุ่มด้วยความเอื้ออาทร เคารพซึ่่งกันและกัน เพื่อความสามารถในการพึ่งตนเองและคุณภาพชีวิตที่เท่าเทียมกัน การบรรลุการพัฒนาที่่�ย งยืน มีองค์ประกอบสำ �คัญ 3 ประการ ได้แก่ การเติบโตทางเศรษฐกิจ ความครอบคลุมกันทางสังคม และ การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม เป้าหมายการพัฒนาที่่� ย งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ในปีพ.ศ. 2558 ประเทศสมาชิกสหประชาชาติรวม 193 ประเทศ ได้ร่วมกันกำ �หนดเป้าหมาย การพัฒนาที่่�ย งยืน ซึ่่งมีทั้งหมด 17 เป้าหมาย รายละเอียดในแต่ละเป้าหมาย ดังภาพ 1 เพื่อเป็นแนวทางให้แต่ละประเทศดำ �เนินการร่วมกันในการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2559 – 2573 เป็นเวลา 15 ปี โดยแบ่งเป็น 5 กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ สังคม (People) เศรษฐกิจ (Prosperity) สิ่งแวดล้อม (Planet) สันติภาพและความยุติธรรม (Peace) และความเป็นหุ้นส่วน ในการพัฒนา (Partnership) โดยมีรายละเอียดเป้าหมาย ในแต่ละกลุ่ม ดังตารางที่ 1 (สำ �นักงานสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2564) เศรษฐกิิจหมุุนเวีียน (BCG Model) ิุี กัับตัั อย่างงานวิิจัยของเยา ชนไทยยุคใหม่่ัั่ิัุ่
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1