นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 231 กรกฎาคม - สิงหาคม 2564

39 ปีที่ 49 ฉบับที่ 231 กรกฎาคม - สิงหาคม 2564ี ที่ ั บี่ ิ ง ออกแบบชิ้นงาน การน� ำชิ้นงานไปใช้จริง ลักษณะการงอกของตาอ้อย ภาพ 3 การออกแบบนวัตกรรมและการน� ำไปใช้งาน ที่มา (ธนวิชญ์ น�้ ำใจดี และฟิวเจอร์ คงชู, 2564) 1. การสกัดกาวเจลาตินจากเกล็ดปลานวลจันทร์ ศึกษาวิธีการและสัดส่วนที่เหมาะสมที่ใช้ในการสกัดสารจากเกล็ดปลานวลจันทร์ เพื่อน� ำ มาใช้เป็นกาวเจลาตินในการเชื่อมประสานชานอ้อย และจากการศึกษานี้ยังพบว่าของเสียจาก กระบวนการสกัดสามารถน� ำมาใช้เป็นธาตุอาหารที่ส� ำคัญให้กับนวัตกรรมที่สร้างขึ้นได้ จึงเป็นการใช้ วัสดุได้อย่างคุ้มค่า และลดต้นทุนของปุ๋ยที่เกษตรกรต้องใส่ในแปลงปลูกอ้อยในระยะแรกปลูก 2. การสกัดเส้นใยจากชานอ้อยที่เหมาะสมต่อการใช้เป็นวัสดุดูดั บ และสมบัติ บางประการเมื่อประสานด้วยกาวเจลาติน ศึกษาวิธีการสกัดเส้นใยจากชานอ้อยที่เหมาะสมต่อการใช้เป็นวัสดุดูดั บ รวมทั้งศึกษา สมบัติของแผ่นเส้นใยจากชานอ้อยที่สกัดได้ เช่น การดูดั บ การอุ้มน�้ ำ การทนต่อแรงดึงเมื่อ อิ่มตัวด้วยน�้ ำ 3. ออกแบบและศึกษาประสิทธิภาพของนวัตกรรมที่สร้างขึ้น ออกแบบผลงานในรูปแบบเข็มขัดึึ่ งสะดวกในการใช้งาน เพื่อช่วยให้ สามารถดูดั บความชื้น และให้ธาตุอาหารที่พัฒนาขึ้นต่อการเจริญเติบโตของท่อน พันธุ์อ้อยระยะแรกปลูก และเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันแมลงศัตรูโดยใช้สารสกัด จากสะเดาและเป็นพืชสมุนไพรธรรมชาติ ึ่งเป็นแนวคิดในการท� ำการเกษตรแบบ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด� ำรงราษฎร์สงเคราะห์ อ� ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย เรื่อง “เข็มขัดดูดั บความชื้นและให้ธาตุอาหารจากวัสดุเหลือทิ้ง ในชุมชน เพื่อการดูแลท่อนพันธุ์อ้อยระยะแรกปลูก” งานวิจัยนี้มีแนวคิดการสร้างนวัตกรรมจากวัสดุเหลือทิ้ง ในชุมชน คือ ชานอ้อยและเกล็ดปลานวลจันทร์ เพื่อแก้ปัญหาการอนุรักษ์ทรัพยากรน�้ ำในการปลูกอ้อย และลดปริมาณของเสีย ึ่งจะช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น โดยมีขั้นตอนตามแนวทางการ ศึกษาวิจัย ดังนี้

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1