นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 231 กรกฎาคม - สิงหาคม 2564
44 นิตยสาร สสวท.ิ ต สถานการณ์สมมติ การระบาดของโควิด-19 เริ่มลดลง แต่ยังต้องเว้นระยะห่างทางสังคม จากการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ประเทศสิงคโปร์พบว่าเมื่อจัดการเรียนรู้เปลี่ยนเป็นแบบผสมผสานมากขึ้น ความเสี่ยงในการแยกส่วนของกระบวนการเรียนรู้้ับบทเรียนก็เพิ่มมากขึ้นด้วย เนื่องจากกระบวนการเรียนรู้เกิดขึ้นจากการที่ ครูจัดประสบการณ์ในบริบทต่างๆ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนให้สามารถบูรณาการประสบการณ์การเรียนรู้และผลที่ได้ ด้วยตนเอง ดังนั้น การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบผสมผสานที่เหมาะสม จึงต้องออกแบบอย่างระมัดระวังและเฉพาะเจาะจง เพื่อให้กระบวนการเรียนรู้้ังคงอยู่ มีความสอดคล้องและกลมกลืนกับเนื้อหาและวิธีการเรียนการสอน ซึ่่งอาจสรุปได้ดังนี้ • เนื้อหาที่เรียน เป็นส่วนสำ �คัญที่่้องพิจารณาว่าจะใช้การเรียนรู้แบบใดจึงจะเหมาะสม รวมถึงสถานการณ์ ในขณะนั้น เช่น ช่วงเวลาการระบาดของโควิด-19 อาจจำ �เป็นต้องใช้การเรียนรู้้�ท ี้านแทนการเรียนในห้องเรียนปกติในบางพื้นที่ หรือมากกว่าการพบหน้าในอีกพื้นที่หนึ่ง • ในบางบทเรียน นักเรียนบางส่วนอาจเรียนรู้อยู่่�ท ี้าน ในขณะที่่ีกส่วนหนึ่งนั่งเรียนรู้ในชั้นเรียน • กุญแจแห่งความสำ �เร็จไม่ได้อยู่่�ท ความลำ� �สมัยของเทคโนโลยี แต่อยู่่�ท การมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างนักเรียนกับเนื้อหา กับเพื่อน และกับครู ดังนั้น การเลือกใช้แพลตฟอร์มและแอปพลิเคชันจึงมีความสำ �คัญมาก เพราะนอกจากจะเปิดโอกาส ให้มีการปฏิสัมพันธ์กันแล้ว ยังช่วยให้ครูจัดการด้านอื่นๆ เช่น การตรวจสอบความเข้าใจ การติดตามดูแลความก้าวหน้า การให้ผลสะท้อนกลับ ตลอดจนการประเมินผลอีกด้วย 1. ความต่อเนื่องของประสบการณ์การเรียนรู้ในทุกบริบททั้งที่่้านและที่โรงเรียน 2. ความสมบูรณ์ในตัวเองของแต่ละประสบการณ์การเรียนรู้ ไม่ว่าจะอยู่ในสถานที่่�ท แตกต่างกัน ก็สามารถเรียนรู้เรื่องเดียวกันได้ ตัวอย่างการวางแผนการเรียนรู้แบบผสมผสานในชั้นเรียน การจัดการกับสถานการณ์ โรงเรียนก� ำหนดให้นักเรียนสลับกันมาโรงเรียนวันละครึ่งห้องวันเว้นวัน จ� ำนวนนักเรียน/จ� ำนวนวัน 40 คน นักเรียนแต่ละคนมาโรงเรียน 3 วัน (ระหว่างวันจันทร์-วันเสาร์) ระดับชั้นของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 3. ความเหมาะสมของสถานที่ เวลา และเทคโนโลยีที่ใช้
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1