นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 231 กรกฎาคม - สิงหาคม 2564
46 นิตยสาร สสวท.ิ ต เมื่อวิเคราะห์ตัวอย่างข้างต้นจะพบว่า 1. ครูไม่จำ �เป็นต้องจัดการเรียนการสอน 2 รอบ เหมือนที่โรงเรียนส่วนใหญ่ดำ �เนินการในปี พ.ศ. 2563 หากมี เทคโนโลยีที่เอื้ออำ �นวยและเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม และในกรณีที่สถานการณ์เลวร้ายกว่าตัวอย่าง คือ โรงเรียนต้องปิดการเรียนการสอน ก็ยังคงดำ �เนินต่อไปได้ 2. การกำ �หนดตัวอย่างให้เป็นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 เนื่องจากต้องการให้เห็นว่าหากเป็นนักเรียนที่อายุน้อย กว่านี้ วิธีการนี้้็อาจไม่เหมาะสม หรือหากจะใช้ก็จำ �เป็นต้องมีตัวช่วย เช่น ขอความร่วมมือผู้ปกครองเป็นพี่ เลี้ยงอย่างใกล้ชิด 3. การใช้วิธีการแบบห้องเรียนกลับด้านไม่ได้เหมาะสมกับทุกเนื้อหาหรือหัวข้อ ต้องพิจารณาบทเรียนก่อนว่าเหมาะ ที่จะใช้หรือไม่ 4. การใช้วิธีการแบบห้องเรียนกลับด้านควรทำ �ให้สั้น (ไม่ควรเกิน 5-10 นาที) น่าสนใจ ชัดเจน และที่่ำ �คัญ ไม่ควรอธิบายทุกอย่างจนหมด เนื่องจากยังไม่ใช่ชั่วโมงเรียนจริง หรือเหลือบางประเด็นไว้อภิปรายต่อยอด ในชั้นเรียน นอกจากนี้ ครูสามารถเลือกใช้วีดิทัศน์ที่่ีอยู่ในสื่อออนไลน์ แต่การใช้สื่อใดๆ ก็ตามควรระวัง ว่าต้องไม่ใช้สื่อนั้นมาสอนนักเรียนแทนครู หากแต่ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ของนักเรียน และช่วยให้ครูส่ง เสริมนักเรียนได้มากขึ้น เช่น สังเกตความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนของนักเรียนได้สะดวกและง่ายขึ้น มีเวลาใน การแก้ไขความคลาดเคลื่อนนั้นๆ ในชั้นเรียน 5. บทบาทครูในชั้นเรียนจะเปลี่ยนจากผู้สอนเป็นผู้้ำ �นวยการเรียนรู้ ที่่ัดบริบทให้เอื้อต่อการเรียนรู้และส่ง เสริมทักษะการคิดของนักเรียน ส่วนนักเรียนก็จะเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้มากขึ้น 6. หากแบ่งเป็นขั้นจะแบ่งได้เป็น 3 ช่วง คือ 6.1 ช่วงก่อนชั่วโมงเรียน คือ ข้อ 1-4 6.2 ช่วงชั่วโมงเรียน คือ ข้อ 5-9 6.2 ช่วงหลังชั่วโมงเรียน คือ ข้อ 10
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1