นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564

19 ปีที่ 49 ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564ี ที่ ั บี่ ั นุ ล ตัวอย่าง เปรียบเทียบ 2 3 กับ 7 12 แผ่นใสขนาดเท่ากัน มีส่วนที่ระบายสีแสดง 2 3 กับ 7 12 ดังนี้ จะเห็นว่าการนำเสนอเนื้อหานี้้ีการใช้สื่อที่เป็นรูปธรรมประกอบการอธิบายให้ผู้เรียนเห็นภาพเพื่อสร้างความเข้าใจ ที่่ัดเจน แล้วจึงเชื่อมโยงไปสู่่ิธีเขียนแสดงการหาคำตอบซึ่่� งเป็นนามธรรม ทำให้ผู้เรียนเข้าใจถึงที่มาของวิธีทำตัวส่วนของ เศษส่วนให้เท่ากันได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ดังนั้น ก่อนจะสอนเรื่องนี้ ผู้สอนควรทบทวนเศษส่วนที่เท่ากันและการเปรียบเทียบเศษส่วน ที่่ัวส่วนเท่ากันก่อน ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้สอนเข้าใจถึงที่มาของวิธีทำตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน สามารถทำความเข้าใจเพิ่มเติมได้ โดยพิจารณาจากสื่อประกอบคำอธิบาย ดังนี้ 2 3 7 12 เมื่อนำแผ่นใสทั้งสองแผ่นมาวาง้ อนทับกัน จะทับกันสนิทพอดี ดังนี้ พิจารณาแต่ละแผ่นเป็นดังนี้ ซึ่่� งสามารถเปรียบเทียบได้ว่า 8 12 > 7 12 ดังนั้น 2 3 > 7 12 พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง 2 3 กับ 8 12 จะพบว่า 2 3 = 2 x 4 3 x 4 = 8 12 จะได้ว่า เมื่อเปรียบเทียบ 8 12 กับ 7 12 พบว่า 8 > 7 แสดงว่า 8 12 > 7 12 ดังนั้น 2 3 > 7 12 เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การสอนวิธีการเปรียบเทียบ เมื่อพิจารณาจากรูป จะเห็นว่าแผ่นใสที่่ีส่วนที่ระบายสีแดง 2 3 ขณะนีู้้กแบ่งเป็น 12 ส่วน ส่วนละเท่าๆ กัน ซึ่่� งคิดเป็น 8 12 และมีตัวส่วนเป็น 12 เท่ากันกับ 7 12 7 12 2 3 = 8 12 เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจถึงที่มาของวิธีทำตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน ผู้สอนอาจกำหนดเศษส่วนจำนวนอื่นๆ ให้เปรียบเทียบเพิ่มเติม ให้ผู้เรียนปฏิิบัติจริงโดยใช้สื่อ พร้อมบอกผลการเปรียบเทียบ จากนั้นผู้สอนอาจใช้การถาม-ตอบประกอบ การอธิบายให้ผู้เรียนสังเกตเห็นความสัมพันธ์เพื่อเชื่อมโยงไปสู่่ิธีเขียนแสดงการหาคำตอบด้วยตนเอง

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1