นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564

21 ปีที่ 49 ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564ี ที่ ั บี่ ั นุ ล ตัวอย่าง 1 เปรียบเทียบ 4 7 กับ 2 9 ตัวอย่าง 2 เปรียบเทียบ 5 8 กับ 7 11 ผู้สอนอาจกำหนดเศษส่วนแท้จำนวนอื่นๆ แล้วเปรียบเทียบกับ 1 2 เพิ่มเติม จะช่วยเพิ่มทักษะในการเปรียบเทียบ โดยใช้สื่อมากยิ่งขึ้น จากนั้นจึงเชื่อมโยงมาสู่่ิธีการเปรียบเทียบเศษส่วนโดยใช้ 1 2 เป็นเกณฑ์์ในการเปรียบเทียบ โดยให้ผู้เรียน ร่วมกันพิจารณาตัวอย่างการเปรียบเทียบเศษส่วนโดยใช้ 1 2 เป็นเกณฑ์์ ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและเห็นถึงความสำคัญ ของการนำความรู้้ึกเชิงจำนวนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ พิจารณา 4 7 กับ 1 2 โดยพิจารณาจำนวนที่เป็นครึ่งของตัวส่วนก่อน เนื่องจาก ครึ่งของ 7 คือ 3 ครึ่ง ซึ่่� ง 3 ครึ่ง น้อยกว่า 4 แสดงว่า 4 7 > 1 2 พิจารณา 2 9 กับ 1 2 โดยพิจารณาจำนวนที่เป็นครึ่งของตัวส่วนก่อน เนื่องจาก ครึ่งของ 9 คือ 4 ครึ่ง ซึ่่� ง 4 ครึ่ง มากกว่า 2 แสดงว่า 2 9 < 1 2 ดังนั้น 4 7 > 2 9 พิจารณา 5 8 กับ 1 2 โดยพิจารณาจำนวนที่เป็นครึ่งของตัวส่วนก่อน เนื่องจาก ครึ่งของ 8 คือ 4 ซึ่่� ง 4 น้อยกว่า 5 แสดงว่า 5 8 > 1 2 พิจารณา 7 11 กับ 1 2 โดยพิจารณาจำนวนที่เป็นครึ่งของตัวส่วนก่อน เนื่องจาก ครึ่งของ 11 คือ 5 ครึ่ง ซึ่่� ง 5 ครึ่ง น้อยกว่า 7 แสดงว่า 7 11 > 1 2 จะพบว่า ทั้ง 5 8 และ 7 11 ต่างก็มากกว่า 1 2 ซึ่่� งยังบอกไม่ได้ว่าจำนวนใดมากกว่า ในกรณีนี้้ึงต้องเปรียบเทียบเศษส่วน 2 จำนวนนี้ โดยการทำตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน แล้วจึงเปรียบเทียบ จะเห็นว่าการนำความรู้้ึกเชิงจำนวนไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ เราสามารถประยุกต์ใช้ได้ตามความเหมาะสม ในบางครั้ง อาจผสมผสานกับวิธีการอื่น ซึ่่� งผู้เรียนสามารถเลือกใช้ได้ตามความถนัดหรือมุมมองของตนเองในการพิจารณาจำนวนที่ปราก ในสถานการณ์นั้นๆ หมายเหตุ การสอนการเปรียบเทียบเศษส่วน โดยใช้ 1 2 เป็นเกณฑ์์ในการเปรียบเทียบ ผู้สอนอาจศึกษา ตัวอย่างการสอนเพิ่มเติมจาก https://proj14.ipst.ac.th/p5/p5-math-book1/ ข้อมูลเพิ่มเติม bit.ly/232-r2

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1