นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564
22 นิตยสาร สสวท.ิ ต 2. การเปรียบเทียบเศษส่วน โดยใช้การคูณ ภา ตัวอย่างการนำเสนอเนื้อหาในหนังสือเรียนใหม่ ระดับประถมศึกษาปีที่ 5 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) จะเห็นได้ว่า วิธีนำเสนอเนื้อหาแสดงให้เห็นความเชื่อมโยงจากความรู้เดิมที่่� ผ เรียนผ่านมาแล้ว ใช้สื่อรูปธรรมเพื่อหาคำตอบ จนถึงการแสดงวิธีหาคำตอบในลักษณะของนามธรรม จากตัวอย่างการเปรียบเทียบเศษส่วนดังกล่าว ผู้สอนควรชี้ให้ผู้เรียน เห็นว่าหากเศษส่วนที่นำมาเปรียบเทียบมีตัวส่วนที่่ีค่ามากๆ แล้วผู้เรียนใช้วิธีเขียนรูปประกอบเพื่อหาคำตอบ อาจเสียเวลา และมีโอกาสคลาดเคลื่อนได้ จึงควรใช้วิธีที่ทำให้ได้คำตอบแน่นอน ไม่คลาดเคลื่อน นั่นก็คือทำตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน โดยการคูณ ซึ่่� งวิธีนี้เป็นวิธีดั้งเดิมที่่�ผ สอนคุ้นเคยเป็นอย่างดี ใน หนังสือเรียนรายวิชาพื้� นฐานคณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง .ศ. 2560) ตามหลักสูตรฯ พุุทธศักราช 2551 สสวท. ได้นำเสนอวิธีที่่่างไปจากเดิมคือ ใช้ตารางการคูณในการทำ ตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน ซึ่่� งก็เป็นวิธีการทำตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันโดยการคูณนั่นเอง เพียงแต่นำมาเขียนในรูปตาราง การคูณ ทั้งนี้เพื่อช่วยผู้เรียนที่่ังคิดไม่เป็นระบบหรือเรียนอ่อน สามารถทำตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันได้ง่ายและสะดวกขึ้น ซึ่่� งเมื่อผู้เรียนสามารถทำได้หรือประสบความสำเร็จก็จะเป็นการสร้างแรงจูงใจทางบวก (Positive Reinforcement) และสร้างเจตคติ ที่่ีต่อวิชาคณิตศาสตร์ให้กับผู้เรียน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1