นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564

23 ปีที่ 49 ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564ี ที่ ั บี่ ั นุ ล สำหรับระดับประถมศึกษาปีที่ 6 จะเรียนเนื้อหาการเปรียบเทียบเศษส่วนที่่ัวส่วนไม่เท่ากัน โดยการหา ค.ร.น. ของตัวส่วน ซึ่่� งวิธีนี้เป็นวิธีที่่�ผ สอนคุ้นเคยกันดีและมักถูกนำไปใช้ในการเรียนการสอน แต่มีผู้สอนจำนวนไม่น้อยที่เข้าใจว่า “การทำตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันนั� น ต้องหา ค.ร.น. ของตัวส่วน” ซึ่่� งเป็นความเข้าใจที่่ิด เนื่องจากการทำตัวส่วน ของเศษส่วนให้เท่ากัน เราอาจใช้การคูณหรือการหารก็ได้ ส่วนการหา ค.ร.น. ของตัวส่วนก็เป็นการทำตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน โดยการคูณ แล้วเลือกผลคูณร่วมที่่้อยทีุ่่ดเท่านั้น ดังตัวอย่าง ตัวอย่าง เปรียบเทียบ 1 4 กับ 5 6 ผลคูณของตัวส่วนแสดงด้วยตารางการคูณดังนี้ × 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 … 6 12 18 24 30 36 42 48 … 4 8 12 16 20 24 28 32 36 40 44 48 … จากตารางการคูณ จะเห็นว่าเราสามารถทำตัวส่วนของ 1 4 กับ 5 6 ให้เท่ากันได้หลายจำนวน เช่น 12, 24, 36, 48, … ซึ่่� งไม่จำเป็นต้องใช้ 12 ซึ่่� งเป็น ค.ร.น. ของ 4 และ 6 เพียงจำนวนเดียวเท่านั้น จะได้ 1 4 = 1 x 3 4 x 3 = 3 12 และ 5 6 = 5 x 2 6 x 2 = 10 12 พบว่า 3 12 < 10 12 ดังนั้น 1 4 < 5 6 หรือ 5 6 > 1 4 ดังนั้น ในการจัดการเรียนรู้เรื่องการเปรียบเทียบเศษส่วน จำเป็นอย่างยิ่งที่่�ผ สอนควรจะสอนวิธีเปรียบเทียบเศษส่วน หลายๆ วิธี และควรอธิบายให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในหลักการอย่างแท้จริง รวมทั้งแนะนำให้ผู้เรียนเลือกใช้วิธีที่เหมาะสมกับ จำนวนที่กำหนดมาให้ หรืออาจใช้หลายวิธีผสมผสานกัน ซึ่่� งการได้ฝึกทักษะการเปรียบเทียบเศษส่วนบ่อยๆ จะส่งผลให้ผู้เรียน สามารถเลือกใช้วิธีเปรียบเทียบเศษส่วนได้อย่างคล่องแคล่ว รวดเร็ว และหากเป็นการเปรียบเทียบจำนวนคละ ผู้เรียนก็สามารถ ประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับการเปรียบเทียบเศษส่วนหลายๆ วิธีตามที่เรียนมาแล้ว มาใช้ในการแก้ปัญหาได้รวดเร็วและง่ายขึ้น บรรณานุกรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2556). หนัังสืื เรีย รายวิิชาพื� า คณิิ ศา์ ชั� ระถมศึ ษาปีีที่� 5 กลุ่่ม าระ ารเรียนรู้้คณิิ ศา์ ามหลัู รแ ลาง ารศึ ษาขั� นพื้� าน พุุ ธศั ราช 2551 . พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2559). หนัังสืื เรีย รายวิิชาพื� า คณิิ ศา์ ชั� ระถมศึ ษาปีีที่� 4 กลุ่่ม าระ ารเรียนรู้้คณิิ ศา์ ามหลัู รแ ลาง ารศึ ษาขั� นพื้� าน พุุ ธศั ราช 2551 . พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). มา ร า ารเรียนรู้้และตััวชี้� วััด กลุ่่ม าระ ารเรียนรู้้คณิิ ศา์ (ฉบัััุ ง พ.ศ. 2560) ามหลัู รแ ลาง ารศึ ษาขั� นพื้� าน พุุ ธศั ราช 2551 . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). หนัังสืื เรีย รายวิิชาพื� า คณิิ ศา์ ชั� ระถมศึ ษาปีีที่� 4 เล่ม 2 (ฉบัััุ ง พ.ศ. 2560) ามหลัู รแ ลาง ารศึ ษาขั� นพื้� าน พุุ ธศั ราช 2551 . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). หนัังสืื เรีย รายวิิชาพื� า คณิิ ศา์ ชั� ระถมศึ ษาปีีที่� 6 กลุ่่ม าระ ารเรียนรู้้คณิิ ศา์ ามหลัู รแ ลาง ารศึ ษาขั� นพื้� าน พุุ ธศั ราช 2551 . พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). คู่่ื ครูรายวิิชาพื� า คณิิ ศา์ ชั� ระถมศึ ษาปีีที่� 5 เล่ม 1 (ฉบัััุ ง พ.ศ. 2560) ามหลัู รแ ลาง ารศึ ษาขั� นพื้� าน พุุ ธศั ราช 2551 . สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2564, จาก https://www.scimath.org/ebook-mathematics/item/10335-2019-05-17-06-25-28/. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). หนัังสืื เรีย รายวิิชาพื� า คณิิ ศา์ ชั� ระถมศึ ษาปีีที่� 5 เล่ม 1 (ฉบัััุ ง พ.ศ. 2560) ามหลัู รแ ลาง ารศึ ษาขั� นพื้� าน พุุ ธศั ราช 2551 . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). หนัังสืื เรีย รายวิิชาพื� า คณิิ ศา์ ชั� ระถมศึ ษาปีีที่� 6 เล่ม 1 (ฉบัััุ ง พ.ศ. 2560) ามหลัู รแ ลาง ารศึ ษาขั� นพื้� าน พุุ ธศั ราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1