นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564
3 ปีที่ 49 ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564ี ที่ ั บี่ ั นุ ล Thor(ium) เทพเจ้้าสายฟ้้า ชาญณรงค์ พููลเพิ่่ม • นักวิชาการ สาขาเคมีและชีววิทยา สสวท. • e-mail: cpool@ipst.ac.th รอบร้� วิทย์์ ในช่วงที่เกิด ายุฤดูร้อน ฝนฟ้้าคะนอง หลายพื้� นที่ เราสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับ ธาตุทางเคมีผ่านสัญลักษณ์ธาตุที่เกี่ยวกับฟ้้าฝ่าได้ด้วย นั่นก็คือ ทอเรียม (Thorium) ที่่ี สัญลักษณ์ของธาตุคือ Th มีเลขอะตอม 90 มาจากทอร์ (Thor) ซึ่่� งเป็นเท สายฟ้้าของ ชาวนอร์เวย์ ค้น บและตั� งชื่อโดย Jons Jakob Berzelius นักเคมีชาวสวีเดน ภา 1 โมนาไ์ ที่มา https://geology.com/minerals/ monazite.shtml ทอเรียมเป็นธาตุโลหะกัมมันตภาพรังสีที่พบในธรรมชาติ เมื่อบริสุทธิ� มีลักษณะสีเงินวาว อ่อนนุ่ม เมื่อสัมผัสกับอากาศจะเป็นสีน้ำตาลหรือสีดำเพราะเกิดออกไ์ คือ ทอเรียมออกไ์ (ThO 2 ) หรือทอเรีย (Thoria) มีจุดเดือดสูงทีุ่่ด (3300 °C) เมื่อถูกทำให้ร้อนในอากาศโลหะทอเรียมจะติดไฟได้เอง เกิดเป็นแสงจ้าสีขาว มีอัตราการแผ่รังสีมากกว่ายูเรเนียม มักใช้ในการทำปฏิิกรณ์นิวเคลียร์ 90 Th thorium 232.04 ประโย์ ของ อเรียม • ใช้เป็นเชื้อเพลิงในเครื่องปฏิิกรณ์ subcritical reactors • ใช้เป็นวัสดุ fertile material ในการผลิตเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ • ใช้ทำวัสดุป้องกันรังสีได้ดี • ใช้หาอายุของฟอสิ ล ด้วยยูเรเนียม-ทอเรียม • ใช้เคลือบลวดทังสเตนในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ • ใช้ทอเรียมในขั้วทังสเตนที่ใช้ในการเชื่อมด้วยไฟฟ้า • ใช้ทำไส้ตะเกียงในตะเกียงที่ใช้น้ำมันหรือแก๊ส การเกิ ของ อเรียม พบทอเรียมได้ปริมาณเล็กน้อยในดินหินแร่ ดินทั่วไปมีทอเรียมโดยเฉลี่ยประมาณ 6 ส่วนในล้านส่วน (ppm) และพบมากในแร่ทอเรียมฟอสเฟตในกลุ่มธาตุหายาก หรือ โมนาไ์ ( Monazite) ซึ่่� งมีทอเรียมออกไ์ ประมาณ 12%
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1