นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564

37 ปีที่ 49 ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564ี ที่ ั บี่ ั นุ ล ภา 2 แนวโน้มการพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ของอุณหภูมิเฉลี่ยรายปีของประเทศไทยในรอบ 40 ปี (พ.ศ. 2513 - 2552) จากสถานีตรวจวัดอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา จำนวน 65 สถานี ที่มา Limjirakan S. and Limsakul A (2012a) สถาน ารณ์์ ารเปลี่่� ยนแป งภููมิอา า ของประเท ไทย์่ �ูิ 1. ารเปลี่่� ยนแป งของอุ หภููมิอา า ใ้ พื้้� นผิิว่ �ุูิ้้ �ิ 2. ารเปลี่่� ยนแป งของฝน ่ � สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย ได้เผยแพร่รายงานการสังเคราะห์และประมวลสถานภาพองค์ความรู้้้าน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของไทย (Thailand's Assessment Report on Climate Change: TARCC) ครั้งที่ 2 ซึ่่� งสรุปได้ดังนี้ (สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561) ในรอบ 40 ปีที่่่านมา (พ.ศ.2513 - 2552) การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอากาศ ใกล้พื้นผิวในประเทศไทยทั้งในระดับภาพรวมทั้งประเทศ และในระดับพื้นที่เฉพาะ แสดงให้เห็นว่า อุณหภูมิอากาศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั่วประเทศ โดยเฉพาะในภาคกลาง (ภาพ 2) โดยอุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิเฉลี่ย และอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ยรายปีของประเทศไทย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 0.96, 0.92 และ 1.04 องศาเ ลเี ยส ตามลำดับ การเปลี่ยนแปลงของฝนในภาพรวมของประเทศไทย มีความแปรปรวนในระยะสั้น ที่่ีความสัมพันธ์กับปราก การณ์ ENSO (El Niño-Southern Oscillation) และความผันผวน ของสภาพภูมิอากาศในคาบสมุทรแปิ ฟิก PDO (Pacific Decadal Oscillation) โดยในรอบ 60 ปีที่่่านมา (พ.ศ.2498 - 2557) ปริมาณฝนสะสมรวมรายปีในพื้นที่ภาคใต้ฝั� งอันดามัน มีแนวโน้มลดลง และฝั� งอ่าวไทย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ขณะที่ปริมาณฝนสะสมรวมเฉพาะในช่วงเดือน พฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน ภาพรวมของประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตรา 64.8 มิลลิเมตร อุณหภูมิอากาศ ใกล้พื้� นผิว ปริมาตรฝน มีความแปรปรวน ในระยะสั� น ENSO เป็นคำที่ใช้อธิบายการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิผิวน้ำทะเลในแปิ ฟิกเขตศูนย์สูตรและความผันแปร ของระบบอากาศในี กโลกใต้ จึงหมายความรวมถึงปราก การณ์ทั้งเอลนีโญและลานีญา

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1