นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564

38 นิตยสาร สสวท.ิ ต 4. ารเปลี่่� ยนแป งของส าวะสุดขั� ว่ �ุั � 5. ารเปลี่่� ยนแป งของระดับนำ� �ทะเ่ �ั ำ� 3. ารเปลี่่� ยนแป งของ ายุหมุนเขตร้อน่ �ุุ้ ในรอบ 40 - 50 ปีที่่่านมา สภาวะสุดขั้วของอุณหภูมิในประเทศไทย มีแนวโน้มสูงขึ้น ส่วนสภาวะสุดขั้วของฝน พบว่า ความถี่ของฝนมากขึ้น ความต่อเนื่องของฝนที่ตกลดลง แต่เกิดฝน ตกหนักเพิ่มขึ้น ซึ่่� งนำไปสู่เหตุการณ์ภัยพิบัติ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงพายุหมุนเขตร้อนในประเทศไทยอยู่ในระดับปานกลาง โดยในรอบ 64 ปีที่่่านมา (พ.ศ.2494 - 2557) กรมอุตุนิยมวิทยาระบุว่า ความถี่ของพายุหมุนเขตร้อน เคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศไทยมีแนวโน้มลดลง ซึ่่� งจะส่งผลโดยตรงต่อปริมาณฝนและภาวะแห้งแล้ง ในประเทศไทย แต่จำนวนพายุหมุนเขตร้อนในระดับทีุ่่นแรงกว่าพายุดีเปรสชันเขตร้อนกลับมี แนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่่� งบ่งชี้้ึงความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นต่อเหตุการณ์สภาวะอากาศผันผวนอย่างรุนแรง ทั้งจากเหตุการณ์ฝนตกหนักและน้ำท่วมที่เกิดขึ้นเป็นระยะๆ สลับกับการเกิดภาวะความแห้งแล้ง ที่ยาวนานขึ้น ความถี่ของ ายุ ความรุนแรง ของ ายุ อุณหภูมิอากาศ ความถี่ของฝน ความต่อเนื่องของฝน ความรุนแรงของฝน ระดับน้ำในระดับโลก และประเทศไทย ารคาด ารณ์์สถาน ารณ์์ ารเปลี่่� ยนแป งภููมิอา า ของประเท ไทยในอนาคต์ ส์่ � ยู มิอ จากรายงาน TARCC ครั้งที่ 2 (สำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย, 2559) ได้มีการศึกษาการคาดการณ์ภูมิอากาศของประเทศไทย โดยย่อส่วนแบบจำลองภูมิอากาศโลกจาก 3 แบบจำลอง ในช่วงปี พ.ศ. 2549 – 2643 (ค.ศ. 2006 – 2100) ซึ่่� งมีความละเอียดเชิงพื้นที่ 10 กิโลเมตร x 10 กิโลเมตร และความละเอียดเชิงเวลาเป็นรายวัน พบว่า ภูมิอากาศในอนาคตของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2643 (ค.ศ. 2100) ค่าอุณหภูมิเฉลี่ยรายวัน (ภาพ 3) อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่ำสุด และปริมาณฝนโดยเฉลี่ยทั่วประเทศ มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ทุกแบบจำลอง ในช่วง 20 ปีที่่่านมา การเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของระดับน้ำของโลกมีค่าเพิ่มขึ้น อยู่ในช่วง 2.8 (ข้อมูลจากสถานีตรวจวัด) - 3.3 มิลลิเมตรต่อปี (ข้อมูลจากดาวเทียมประเภท อัลติมิเตอร์) การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำในบริเวณชายฝั� งของประเทศไทย ที่คำนวณจาก ดาวเทียมบริเวณทะเลอันดามัน ทะเลจีนใต้ และทะเลโดยรอบประเทศอินโดนีเชีย ซึ่่� งเป็นบริเวณ ที่อยู่ใกล้กับประเทศไทย พบว่าระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้น 3.6 - 6.6 มิลลิเมตรต่อปี

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1