นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564
4 นิตยสาร สสวท.ิ ต อเรียมกับเชื้้� อเพลิงนิวเคลียร์ ทอเรียมสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในเครื่องปฏิิกรณ์นิวเคลียร์ได้เช่นเดียวกับยูเรเนียม (U) กับพลูโตเนียม (Pu) เมื่อทอเรียม ดูดกลืนนิวตรอนแล้วจะกลายเป็น 233 U ซึ่่� งเป็นวัสดุฟิสไ์ คือ เป็นสารที่สามารถทำให้เกิดปฏิิกิริยานิวเคลียร์ต่อเนื่องได้ แต่ใช้เป็นเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ได้ดีกว่า 235 U และ 239 Pu เนื่องจากเมื่อดูดกลืนนิวตรอนแล้วจะให้นิวตรอนออกมาจากฟิชชัน (F ission) ได้ ซึ่่� งฟิชชัน คือกระบวนการที่่ิวเคลียสของไอโ โทปของธาตุหนักบางชนิดแตกออกเป็นไอโ โทปของธาตุที่เบากว่า ไอโ โทปของธาตุอื่นที่สามารถเกิดฟิชชันได้ เช่น U-238 หรือ Pu-239 การเกิดฟิชชันแต่ละครั้งจะคายพลังงานออกมา จำนวนมากและได้ไอโ โทปกัมมันตรังสีหลายชนิด จึงถือได้ว่าฟิชชันเป็นวิธีผลิตไอโ โทปกัมมันตรังสีที่สำคัญ นอกจากนี้ ฟิชชันยังได้นิวตรอนเกิดขึ้นด้วย ถ้านิวตรอนที่เกิดขึ้นใหม่นี้ชนกับนิวเคลียสอื่นๆ จะเกิดฟิชชันต่อเนื่องไปเรื่อยๆ เรียกปฏิิกิริยานี้้่า ปฏิิกิริยาลูกโ่ (Chain Reaction) ภา 2 ปฏิิกิริยาลูกโ่ ที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/Thorium_fuel_cycle วีดิทัศน์ เรื่อง ปฏิิกิริยาฟิชชัน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1