นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564
53 ปีที่ 49 ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564ี ที่ ั บี่ ั นุ ล บรรณานุกรม Rules of International Chemistry, สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2564, จาก http://ichto.org/media/uploads/2021/08/Rules_of_IChTo-2021-2.pdf. การแข่งขัน International Chemistry Tournament สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2564, จาก http://ichto.org/en/. ณัฐธิดา พรหมยอด. (2562). การสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบ CER (Claim, Evidence and Reasoning). นิิ ย าร . 47 (219): 11-15. การนำ �รููปแบบการแข่่งขััน IChTo มาปรัับใช้้เพื่่ � อการจัดการเรียนการสอนวิิ าเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ได้นำรูปแบบการแข่งขัน IChTo มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมี หัวข้อ พอลิเมอร์ โดยมีเป้าประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการคิด การสื่อสาร และเพื่อเชื่อมโยงเนื้อหาการเรียนรู้้ับเทคโนโลยีพอลิเมอร์ ในชีวิตประจำวัน การจัดกิจกรรมมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการแข่งขันให้เหมาะสมกับเวลา 2 คาบเรียน (100 นาที) ดังนี้ 1. โจทย์การแข่งขัน โจทย์ท้าประลองมีจำนวน 6 ข้อ โดยเป็นโจทย์ปัญหารูปแบบข้อเสนอนวัตกรรม มีการเผยแพร่โจทย์ ปัญหา 2 สัปดาห์ก่อนการแข่งขัน นักเรียนในแต่ละห้องเรียนจำนวน 24 คน ทำงานเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน ดังนั้น แต่ละห้องเรียนจะเลือกนำเสนอโจทย์เพียง 4 ข้อ ตัวอย่างโจทย์ ได้แก่ - จงเสนอวัสดุประเภทพลาสติกชีวภาพที่เหมาะสมต่อการใช้ผลิตกระบอกฉีดยา - จงเสนอวิธีการผลิตเสื้อกีฬารักษ์โลกจากขวดน้ำพลาสติก 2. การเตรียมตัวก่อนการแข่งขัน หลังจากที่่ักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกโจทย์ปัญหาแล้วจะมีการจับฉลากการทำหน้าที่ ในการแข่งขันแต่ละยก ดังนั้น ระหว่างการสืบค้นข้อมูลเพื่อเตรียมนำเสนอ นักเรียนแต่ละกลุ่มจะทราบอยู่่่อนแล้ว ว่ากลุ่มตนเองจะต้องนำเสนอโจทย์ข้อใด จะต้องทำหน้าที่่่ายั กค้านและฝ่ายวิพากษ์ของโจทย์ข้อใด 3. การแข่งขัน ลำดับการทำหน้าที่ของแต่ละฝ่ายเหมือนกับการแข่งขัน IChTo แต่ละกลุ่มสามารถเลือกตัวแทนทำหน้าที่ เพียง 1 คน หรือจะส่งตัวแทนมากกว่า 1 คน ทั้งในส่วนของการทำหน้าที่่่ายนำเสนอ ฝ่ายั กค้าน และฝ่ายวิพากษ์ ให้คะแนนโดยใช้แบบประเมินแบบมาตรวัด 5 ระดับ โดยใช้คะแนนรวมจากครูและทีมที่ทำหน้าที่เป็นฝ่ายสังเกตการณ์ กิจกรรมการแข่งขัน IChTo เป็นโอกาสหนึ่งที่่ักเรียนจะได้ฝึกฝนและพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดแก้ปัญหา ทักษะการสื่อสาร รวมถึงทักษะการทำงานร่วมกันเป็นทีม จากประสบการณ์การทำหน้าที่ครูที่ปรึกษาของทีมนักเรียนที่เข้าร่วม การแข่งขัน IChTo และการนำกิจกรรม IChTo มาปรับใช้ในชั้นเรียน ผู้เขียนมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทของครู ดังนี้ 1. ทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ครูผู้สอนสามารถใช้โมเดล Claim-Evidence-Reasoning ในการเตรียม ความพร้อมนักเรียนก่อนเริ่มกิจกรรม (ณัฐธิดา พรหมยอด, 2562) เพื่อให้นักเรียนฝึกการตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับ ประเด็นสำคัญ ได้แก่ หลักฐานข้อมูลนั้นได้มาอย่างไร มีความน่าเชื่อถือเพียงใด ข้อสรุปหรือข้อโต้แย้งมีความสัมพันธ์ กับหลักฐานที่ใช้สนับสนุนหรือไม่ การให้เหตุผลเชื่อมโยงข้อสรุปกับหลักฐานข้อมูลมีความสมเหตุสมผลหรือไม่ หลักฐานข้อมูลนั้นสามารถนำไปสู่่้อสรุปทางเลือกอื่นได้หรือไม่ หลักฐานข้อมูลนั้นเป็นข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็น 2. แก่นของวิชาเคมี การทำหน้าที่่�ท งฝ่ายนำเสนอ ฝ่ายั กค้าน และฝ่ายวิพากษ์ ครูต้องเน้นย้ำให้นักเรียนตั้งคำถาม เกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ของปริมาณสารในปฏิิกิริยาเคมี ความสัมพันธ์ของพลังงานกับการเกิดปฏิิกิริยา เนื่องจากหัวข้อพอลิเมอร์เป็นหัวข้อการเรียนรู้เรื่องสุดท้าย ของวิชาเคมี การจัดกิจกรรมรูปแบบ IChTo จึงเป็นการทบทวนความรู้้�พ นฐานและการบูรณาการความรู้ในทุกหัวข้อ ของวิชาเคมี 3. การเตรียมความพร้อมของฝ่ายนำเสนอ ครูควรต้องมีการนัดหมายกับนักเรียนเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า ในการเตรียมนำเสนอ และให้ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงพัฒนา อย่างน้อย 2 ครั้งก่อนการแข่งขัน ในช่วง ของการให้คำปรึกษา เช่น การให้คำแนะนำเกี่ยวกับการใช้คำสำคัญในการสืบค้นข้อมูล การลำดับเนื้อหา ประเด็นสำคัญเพื่อนำเสนอในเวลาที่กำหนด การสร้างสื่อนำเสนอ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1