นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564
59 ปีที่ 49 ฉบับที่ 232 กันยายน - ตุลาคม 2564ี ที่ ั บี่ ั นุ ล จากเรื่องที่่่ายเล่าเกี่ยวกับสารทดแทนความหวาน คุณว่าสารทดแทนความหวานของน้ำตาลจะเกี่ยวข้องกับ การเกิดโรคใดได้บ้างหรือไม่ คำตอบก็คือ ทำให้เกิดโรคต่างๆ ได้มายมายหลากหลาย ขึ้นกับชนิดของสารที่นำมาใช้ทดแทน ความหวาน เช่น Aspartame (แอสปาแตม) ที่เวลากินแล้วจะหวานแปลกๆ ไม่เหมือนน้ำตาล และพบว่าจะไม่สามารถย่อย และดูดึ มเข้าสู่่่างกายได้ มันก็จะถูกลำเลียงไปจนถึงลำไส้ใหญ่ที่่ีแบคทีเรียที่อาศัยในลำไส้และรอย่อยแอสปาแตมอยู่ พอย่อยปั� ปก็จะเกิดแก๊ส ทำให้มีอาการท้องอืด ท้องเฟ้อและถ่ายได้มากกว่าปกติ นอกจากนี้้ังพบว่า กรดแอสปาร์ติก ยังสามารถเข้าสู่สมองและทำให้สมองได้รับอันตรายได้ทั้งในเรื่องของการสูญเสียความจำ ภาวะึ มเศร้า การทำงาน ของประสาทตา และยังเกี่ยวข้องกับการเกิดมะเร็งอีกหลายชนิด นอกจากนี้พบว่า สารทดแทนความหวานจะไปทำให้ระบบเมแทบอลิึ มทำงานได้ช้าลง ทำให้สมดุลของการควบคุม การหลั่งฮอร์โมนอินู ลินและกลูคากอนที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดผิดปกติไป ทำให้คุณๆ หิวบ่อยครั้ง สุดท้ายก็ทำให้เกิด ภาวะอ้วนได้แบบอ้อมๆ ความร้ายกาจของสารทดแทนความหวานยังมีอีกจ้า งานวิจัยพบว่าสารทดแทนความหวานยังเกี่ยวข้องกับ ความผิดปกติของทารกในครรภ์ในช่วงของการเจริญและการพัฒนาในระยะสามเดือนแรกของการตั้งครรภ์ด้วย หากมี การใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานานๆ จะเพิ่มความเสื่ยงในการเป็นเบาหวาน น้ำหนักตัวเพิ่ม โรคหัวใจ หัวใจล้มเหลวอันเป็นผลมาจาก ความดันโลหิตสูง โรคความจำเสื่อม นอกจากนี้้ังพบว่าหากมีการใช้ Xylitol ในปริมาณที่มาก (ต้องไม่ลืมว่ามากของแต่ละคน ไม่เท่ากัน) จะกระตุ้นให้เกิดก้อนนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ และยังไปกระตุ้นในยีนมะเร็งทำงานได้ด้วย ส่วน Saccharin (ซึ่่� งประเทศไทยประกาศห้ามใช้ไปแล้ว) มีรายงานวิจัยพบว่ามีความเป็นพิษต่อตับ คนที่ตอบถูกก็คือ นายสิรวิชญ์ ศรีมหาพรหม โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย์ 299 หมู่ 2 ต.สตึก อ.สตึก จ.บุรีรัมย์ 31150 โดยแจ้งว่า อยากให้ส่ง เฉ ยคำถามฉบับที� 230 คุณๆ ไม่ต้องตกใจ เพราะพอเจาะลึกเข้าไปดูที่เนื้อเยื่อไขมัน (Adipose Tissue) ก็จะเห็นความแตกต่างภายใน ได้อย่างชัดเจน โดยพบว่า ภายในเนื้อเยื่อไขมันของหนูทดลองที่อายุน้อยจะมีอัตราส่วนของเ ลล์ Eosinophil ต่อ Macrophage สูง แต่เมื่อมีสภาวะอ้วนหรือแก่ชรา อัตราส่วนของเ ลล์ทั้งสองชนิดนี้จะลดลง ถึงตอนนีุ้้ณอาจจะสงสัยว่าเจ้า Macrophage ทำหน้าที่อะไร แล้วทำไมมันถึงมีจำนวนเพิ่มขึ้น เมื่ออ้วนหรือแก่ หรือทั้งอ้วนและแก่ นักวิทยาศาสตร์รู้มานานแล้วว่า แมคโครฟาจเป็นเ ลล์เม็ดเลือดขาวชนิดหนึ่งที่อยู่ในระบบภูมิคุ้มกัน หน้าที่ของเขาก็คือคอยทำลายหรือย่อยสลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย ส่วนประเด็นเรื่องทำไมจำนวนถึงเพิ่มมากขึ้น ในเนื้อเยื่อไขมันนั้น ยังไม่สามารถชี้้ัดลงไปได้ แต่คาดว่ามันน่าจะมีส่วนช่วยในการทำให้เกิดสมดุลภายในเนื้อเยื่อ คือเข้ามาช่วย กำจัดสารพิษหรืออนุมูลอิสระต่างๆ ที่เกิดขึ้น และน่าจะเกี่ยวข้องกับการเกิดภาวะการดื้ออินู ลิน (อินู ลินเป็นฮอร์โมนที่ควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือดให้ลดลง โดยนำเข้ามาเก็บไว้ภายในเ ลล์ต่างๆ) ต่่าย แสนซน่ า อาุ มันก็แค่่ ามรู้้� สึึกนึกคิิดเท่านั� น ถ้้าคุุณๆ ไม่แ์ มัน มันก็ทำ �อะไุ ณไม่ได้ นิตยสารไปที่ รร.วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย์ เพราะตอนนนี้้่านออนไลน์ ซึ่่� งต่ายขอบอกว่า ต่อไปนิตยสาร สสวท. ก็จะไม่มีการพิมพ์เป็นเล่มอีกแล้ว แสดงว่าคุณสามารถ ปรับตัวได้แล้วกับการอ่านในรูปแบบออนไลน์ อิอิ เมื่อใดที่คุณสนใจเรื่องราวเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมไปถึงการเรียนการสอนในเรื่อง เหล่านี้ หรือหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง สามารถเขียน email ส่งมาบอก กล่าว ถามหากับต่ายได้เหมือนเดิม ที่ funny_rabbit@live.co.uk แล้วต่ายจะพยายามจัดให้นะจ๊ะ พบกันใหม่ในฉบับหน้าจ้า
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1