นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 233 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2564

คณะที่ปรึกษา ประธานกรรมการ สสวท. ผู้อำ �นวยการ สสวท. รองผู้อำ �นวยการ สสวท. บรรณาธิการบริหาร ธรชญา พันธุนาวนิช หัวหน้ากองบรรณาธิการ ขจีรัตน์ ปิยกุล กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยผู้อำ �นวยการ ผู้อำ �นวยการสาขา/ฝ่าย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ/ผู้เชี่ยวชาญ ขจิต เมตตาเมธา จินดาพร หมวกหมื่นไวย ดร.ดวงกมล เบ้าวัน นันทฉัตร วงษ์ปัญญา ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ดร.ประวีณา ติระ ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว ดร.รณชัย ปานะโปย ดร.สนธิ พลชัยยา ดร.สุนัดดา โยมญาติ ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ เทอด พิธิยานุวัฒน์ นิลุบล กองทอง รัชนีกร มณีโชติรัตน์ ศิลปเวท คนธิคามี สินีนาฎ จันทะภา สิริมดี นาคสังข์ สุประดิษฐ์ รุ่งศรี เจ้าของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307 (ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท. หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย จักเป็นพระคุณยิ่ง) วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป 2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท. 3. เสนอความก้าวหน้า​ของวิทยาการในด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน การศึกษา​ของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน 4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี จากครูและผู้สนใจทั่วไป ฉบับนี้ ขอร่วมฉลองครบรอบ 50 ปี สสวท. ในวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2565 ตลอดระยะเวลา ที่่่านมา สสวท. ได้ปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ตามวิถีแห่งยุคสมัย เน้นบูรณาการ การสอนภาคทฤษฎีและปฏิิบัติ พัฒนาสื่อการเรียนรู้จากตำราสู่่ัญญาประดิษฐ์ พัฒนาครูผู้สอน สู่การศึกษาแห่งอนาคต มีการวัดและประเมินผลสู่การปฏิิรูปการเรียนรู้้�ท งระบบ ส่งเสริมผู้้ี ความสามารถพิเศษสู่การพัฒนาประเทศ และเปลี่ยนผ่านสู่ความเป็นองค์กรแห่งเทคโนโลยีดิจิทัล ทั้งระบบ การนำคำถามที่พบจากสื่อสังคมออนไลน์มาใช้ในการจัดการเรียนรู้้ิทยาศาสตร์มีประโยชน์ ที่เห็นได้ชัดในแง่ของการเชื่อมโยงกับชีวิตจริง โลกของสังคมออนไลน์จะพบกับคำถามต่างๆ ที่่่าสนใจ ผู้สอนควรพิจารณาคำถามนั้นว่าสอดคล้องกับเนื้อหาที่ตนเองกำลังสอนหรือไม่ และถ้าจะนำมาใช้ ในห้องเรียน จะนำมาปรับใช้อย่างไรบ้างเพื่อให้ห้องเรียนมีการจัดการเรียนรู้้�ท เชื่อมโยงกับชีวิตจริง และผู้เรียนเรียนอย่างมีความหมาย เด็กในช่วงปฐมวัยควรได้รับการส่งเสริมโดยการจัดประสบการณ์ในลักษณะบูรณาการ ผ่านการเล่น เรียนรู้้่านประสาทสัมผัสทั้งห้า เพื่อให้เด็กมีทักษะการคิดเชิงคำนวณ ช่วยส่งเสริม ให้เด็กได้พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ กิจกรรมการเรียนรู้ “เมนูดอกอัญชัน” เพื่อส่งเสริมการคิด เชิงคำนวณของเด็กปฐมวัย ครูสามารถนำไปปรับใช้เพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดทักษะหรือแนวคิดอื่นๆ ที่่่วยพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพให้กับเด็กในระดับปฐมวัยต่อไป นิตยสาร สสวท. รูปแบบสิ่งพิมพ์ จะพิมพ์ในฉบับ 233 นี้เป็นฉบับสุดท้าย ซึ่่� งในปี พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป สามารถติดตาม นิตยสาร สสวท. ฉบับออนไลน์ได้ที่ http://emagazine.ipst.ac.th โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และ Facebook http://facebook.com/ipstmag เพื่อไม่พลาดข่าวสารในฉบับต่อไป ธรชญา พันธุนาวนิช บรรณาธิการบริหาร เปิิดเล่่ม สสวท. ปีีที่่� 50 ฉบัั ที่่� 233 พฤศจิิกายน - ธัันวาคม 2564

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1