นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 233 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2564

41 ปีที่ 50 ฉบับที่ 233 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2564ี ที่ ั บี่ ิ กั น การเรียนกระตุ้้� น ความคิด ทัศนัย สูงใหญ่ • อาจารย์ สถาบันวิจัย พัฒนา และสาธิตการศึกษา โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒองครักษ์ รศ.ดร.ศศิเทพ ปิติพรเทพิน • อาจารย์ประจำ ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แคทลียา จักขุจันทร์ • นักวิชาการ สาขาวิทยาศาสตร์ภาคบังคับ สสวท. • e-mail: cchak@ipst.ac.th วิทยาการคำนวณถือเป็นประเด็็นสำคัญของการจั การศึกษาสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ซึ่่� งมุ่งเน้น ให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะการคิดวิิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็นขั� นตอนและเป็นระบบ มีการคิ เชิงคำนวณ ซึ่่� งผู้เรียน สามารถนำทักษะนี� ไปประยุกต์ใช้เพ่� อแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้้ ทักษะการคิ เชิงคำนวณ (Computational T hinking) เป็นกระบวนการในการแก้ปัญหาการคิดวิิเคราะห์อย่างมีเหตุผลเป็นขั� นตอน เพ่� อหาวิธีการแก้ปัญหาในรูปแบบ ที่สามารถนำไปประมวลผลได้้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่่� งมีองค์ประกอบที่สำคัญ ได้้แก่ การแบ่งปัญหาใหญ่ออกเป็น ปัญหา/งานย่อย (Decomposition) การพิจารณารูปแบบของปัญหาหรือวิธีการแก้ปัญหา (Pattern R ecognition) การพิจารณาสาระสำคัญของปัญหา (Abstraction) และการออกแบบอัลกอริทึม (Algorithms) (สถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2561) เด็กในช่วงปฐมวัยนับเป็นช่วงวัยที่่ีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งด้านร่างกาย สังคม อารมณ์-จิตใจ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านสติปัญญา ซึ่่� งเด็กในช่วงวัย 3-6 ปี ควรได้รับการส่งเสริมโดยการจัดประสบการณ์ในลักษณะบูรณาการผ่านการเล่น การลงมือทำจากประสบการณ์ตรงอย่างหลากหลาย การเรียนรู้้่านประสาทสัมผัสทั้งห้า การเคลื่อนไหว การสํารวจ การเล่น การสังเกต การสืบค้นข้อมูล การทดลอง และการคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง การจัดประสบการณ์แบบบูรณาการ โดยบูรณาการทั้งกิจกรรม ทักษะ และสาระการเรียนรู้ รวมทั้งให้เด็กได้คิดริเริ่ม วางแผน ตัดสินใจลงมือทำ และนำเสนอ ความคิด (กระทรวงศึกษาธิการ, 2560) การพัฒนาให้เด็กมีทักษะการคิดเชิงคำนวณ นับเป็นสิ่งสำคัญที่่่วยส่งเสริมให้เด็ก ได้พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ มีเหตุผลและเป็นขั้นตอน ดังนั้น การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนจึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง บางครั้งกิจกรรมง่ายๆ ก็สามารถ พัฒนากระบวนการคิดและทักษะต่างๆ ได้ เช่น การจัดกิจกรรมการประกอบอาหาร เป็นกิจกรรมหนึ่งที่่่วยส่งเสริมประสบการณ์ และมีคุณค่าต่อกระบวนการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ไม่ว่าจะเป็นการรู้้ักแบ่งปัน การสร้างสรรค์ การเห็นคุณค่าในตนเอง การพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่และมัดเล็ก รวมไปถึงความรู้ในด้านต่างๆ ทั้งความปลอดภัย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษา (McQuillan, M., & Coleman, G., 2007) ทั้งนี้คณะผู้เขียนขอนำเสนอตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ “เมนูดอกอัญชัน” เพื่อส่งเสริมการคิดเชิงคำนวณของเด็กปฐมวัย ซึ่่� งพัฒนาจากกิจกรรมในหน่วยการเรียนรู้เรื่อง พืช ที่เด็กๆ ได้สำรวจดอกไม้ ในบริเวณโรงเรียนและเกิดความสนใจ โดยมีแนวทางในการดำเนินกิจกรรมที่่�ม งเน้นการพัฒนาการคิดเชิงคำนวณในองค์ประกอบ ที่สำคัญ ดังนี้ การคิิดเชิิงคำำ �นวณสำำ �หรับเด็กปฐมวัยิิ ำ ำั็ั ผ่่านกิจกรรมการเรียนร้� “เมนูดอกอัญชััน”่ิี้ �ูัั การแบ่่งปััญหาใหญ่ออกเป็็นปััญหาย่่อ /งานย่่อ (Decomposition)่ั่็ั่่ 1 จากการที่เด็กๆ ได้สำรวจดอกไม้ในบริเวณโรงเรียนหลายชนิด พบว่ามีดอกอัญชันเป็นจำนวนมาก เด็กๆ จึงเกิด ความสงสัยว่า “ดอกอัญชันสามารถนำมารับประทานได้หรือไม่” เมื่อเกิดคำถามดังกล่าว ครูจึงใช้คำถามกระตุ้นให้เด็กเสนอ วิธีการในการหาคำตอบว่า เราจะหาคำตอบได้อย่างไร เด็กบางคนเสนอว่าจะกลับไปถามผู้ปกครอง บางคนเสนอว่าให้สืบค้นจาก อินเทอร์เน็ตมีบางคนเสนอคำตอบจากประสบการณ์เดิมว่าเคยเห็นว่านำไปทำอาหารได้ จากนั้นครูกระตุ้นให้ เด็็กแบ่งปัญหาใหญ่ ออกเป็นปัญหาย่อย โดยใช้คำถามว่า “ถ้าดอกอัญชันสามารถนำมารับประทานได้ ดอกอัญชันจะสามารถนำมาทำอาหารอะไร ได้บ้าง” ครูกระตุ้นให้เด็กร่วมกันเสนอวิธีการในการรวบรวมข้อมูลอีกครั้งเพื่อใช้ในการหาคำตอบของปัญหาย่อยว่า เด็กๆ จะไปหา คำตอบได้จากที่ใดบ้าง เด็กๆ จึงเสนอวิธีการและทำตามวิธีการที่เสนอโดยกลับไปถามผู้ปกครอง สืบค้นในเว็บไซต์์ ที่่่าเชื่อถือ

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1