นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 233 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2564

45 ปีที่ 50 ฉบับที่ 233 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2564ี ที่ ั บี่ ิ กั น การเรียนกระตุ้้� น ความคิด ทิพย์สุรางค์ พึ่งนิ่ม • โรงเรียนราชวินิต จังหวัดนนทบุรี • e-mail: yingtipku61@gmail.com ดร.วชิร ศรีคุ้ม • นักวิชาการอาวุโส สาขาวิทยาศาสตร์ภาคบังคับ สสวท. • e-mail: wsrik@ipst.ac.th แบ่่งปัันไอเดีีย : โครงงานสะเต็็มในการศึึกษาวิิถีีใหม่ S T E M จากสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 สถานศึกษาส่วนใหญ่ไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ ส่งผลให้เกิดแรงขับเคลื่อน ในการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้ผู้สอนจำเป็นต้องพัฒนาการจัดการเรียนรู้้่านระบบออนไลน์ ด้วยเหตุนี้้ึงเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ที่่�ผ สอนต้องทำความเข้าใจและสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้ออนไลน์รวมถึงเครื่องมือต่างๆ ซึ่่� งการเรียนรู้ออนไลน์ คือ การเรียนรู้้�ท ใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในการสร้างและส่งผ่านองค์ความรู้ วิธีการและการเรียนรู้้�ท งในรูปแบบ ของการเรียนรู้โดยตรงและในรูปแบบของการเพิ่มประสิทธิภาพของการเรียนรู้ ปัจจุบันการเรียนรู้ออนไลน์อยู่ในยุคที่ 3 ของการศึกษารูปแบบทางไกล (Third-Generation Distance Education) กล่าวคือ เป็นยุคที่เน้นการสร้างปฏิิสัมพันธ์ (Interaction) หรือทำให้เกิดชุมชนของการเรียนรู้ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน รวมทั้งระหว่างผู้เรียนและผู้เรียนด้วยกันเองผ่านระบบออนไลน์ ก่อนหน้านี้ในยุคที่ 2 (Second-Generation) เน้นไปที่หลักสูตรหรือแหล่งเรียนรู้้�ท ีีสื่อผสมผสาน (Multimedia Course) ที่เป็นการเรียนรู้ทางเดียว โดยไม่มีการสื่อสารระหว่างบุคคล หรือมีน้อยมาก ในยุคที่ 3 นี้ภายหลังมีการพัฒนาเทคโนโลยี เป็นระบบการเรียนรู้ออนไลน์ที่สร้างความร่วมมือในการเรียนรู้ระหว่างกลุ่มคนมากยิ่งขึ้นและเกิดในช่วงตามเวลาจริง ตัวอย่างเช่น Google Classroom, หรือ Coursera ที่ประยุกต์ใช้แนวคิดของระบบ Massive Open Online Courseware หรือ MOOC ลักษณะของการจัดการเรียนการสอนและการศึกษาที่ผสมผสานคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต การใช้ ICT หรือเทคโนโลยี สารสนเทศในการเรียนรู้้ีอยู่หลากหลายแบบ การใช้เทคโนโลยีเป็นสื่อกลางและเครื่องมือในการสร้างแนวทางเรียนรู้ออนไลน์ ที่่ิยมอยู่ในปัจจุบันสามารถแบ่งได้ 3 แนวทาง [อ้างอิง: Harasim (1990) และ Nipper (1989)] ได้แก่ • กระบวนการจั การเรียนรู้ในชั� นเรียน (Onsite T eaching) เป็นแนวทางการเรียนรู้ในชั้นเรียนที่ผสมผสาน การใช้สื่อออนไลน์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการเรียนในชั้นเรียน เช่น ผู้สอนให้ทำกิจกรรมโดยการใช้โปรแกรม ในการหาข้อมูล หรือสร้างสื่อประกอบ • กระบวนการจั การเรียนรู้แบบผสมผสานระหว่างชั� นเรียนและออนไลน์ ( M ixed Online & Onsite T eaching) เป็นแนวทางการเรียนรู้้�ท ีีการรวมกันของลักษณะการเรียนการสอนในชั้นเรียน เช่น การบรรยาย การทำงานกลุ่ม ผสมผสานกับการเรียนการสอนแบบออนไลน์ เช่น การอภิปรายโดยใช้โปรแกรม หรือการทำชิ้นงานบน Website หรือ A pplication ต่างๆ บางครั้งแนวทางจัดการเรียนรู้แบบนี้ เรียกว่า Blended Learning • กระบวนการจั การเรียนรู้แบบออนไลน์ทั� งหม ( W holly Online T eaching) เป็นแนวทางการเรียนรู้้�ท ีี การรวมกันของลักษณะการเรียนการสอนที่ไม่มีกิจกรรมใดๆ ในชั้นเรียน กิจกรรมและสื่อทั้งหมดจะสร้างขึ้นในรูปแบบ ปฏิิสัมพันธ์ทางไกลเท่านั้น มีทั้งที่เป็นการสื่อสารแบบไม่ประสานเวลา หรือ A synchronous Communication เช่น e-mail การเรียนรู้ออนไลน์ด้วยตัวเอง และการสื่อสารแบบประสานเวลา หรือSynchronous Communication เช่น การอภิปราย การนำเสนอผลงาน และการประชุมผ่านโปรแกรม จากข้อจำกัดที่กล่าวมาข้างต้น คณะผู้เขียนได้รวบรวมข้อมูลจากประสบการณ์ตรงจากการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้้ิจกรรมสะเต็มศึกษาและการออกแบบเชิงวิศวกรรม ในรูปแบบของกระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบออนไลน์ทั้งหมด หรือ Wholly Online Teaching มาแลกเปลี่ยนซึ่่� งประกอบด้วยแนวทางการจัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งระบุ ข้อจำกัดและบรรยายสิ่งที่เกิดขึ้นจริงในชั้นเรียน

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1