นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 233 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2564

6 นิตยสาร สสวท.ิ ต สสวท. จัดตั้งโครงการสอนออนไลน์ Project 14 จากหมายเลขโครงการหลักที่ 14 ตามยุทธศาสตร์ของ สสวท. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์ม โดยเริ่มแรกได้ต่อยอดสื่อการเรียนรู้จากหนังสือเรียน และคู่่ือครู ให้เป็นสื่อดิจิทัลที่ยกระดับการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนโดยลดข้อจำกัดของสื่อแบบเดิม ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้โรงเรียนต้องปิดเรียน และจัดการเรียนการสอนบนแพลตฟอร์มดิจิทัลในรูปแบบ ออนไลน์เกือบ 100% แต่การเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหัน ทำให้โรงเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน ยังปรับตัวไม่ได้ทั้งหมด สสวท.เร่งเปลี่ยนตำราเรียนตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทั้งรายวิชา พื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม ให้เป็นวีดิทัศน์การสอนผ่าน แพลตฟอร์มออนไลน์ เริ่มเปิดให้ใช้งานตั้งแต่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2563 เป็นต้นมา การดำเนินงานดังกล่าวมีส่วนช่วยให้โรงเรียนที่ ต้องหยุดสอนในโรงเรียนไม่ขาดแคลนสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ สามารถจัดการเรียนการสอนออนไลน์โดยไม่หยุดชะงัก นักเรียนยังสามารถเรียนรู้เองจากที่่้าน และแม้แต่ยามปกติ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ยังใช้สื่อเหล่านี้ในการเรียนรู้ออนไลน์ได้ และส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้้ิถีใหม่จนค่อยคุ้นชิน ยาวนาน ไปจนสถานการณ์คลี่คลายสู่ปกติ นอกจากวีดิทัศน์การสอนที่กล่าวแล้ว “ ท. กำลัังพัฒนาต่่ ย ด ากสื่� Project 14 เพื� อพััฒนาเป็็น ระบบสื่่� อดิิจิิทัลที่� ามารถ โ ทย์การศึกษาได้้ียิ� งขึ้� น โดยนำเทคโนโลยีีปัั า ระดิษฐ์์หรืือ AI มาใช้ในระ สื่� อดิิจิิทัล ถ ึึงแม้้ว่ารู แ แ ะเทคโนโลยีีที� ใช้จััดทำสื่� ะมีการเปลี่่� ยนแ งไ ามเ า แต่่ ท. ยังคงยึดมั� น ในกระบว นการพัฒนาสื่� ออย่่ างมีคุ ภาพแ ะสอ ดคล้้ ง กั หลัักสูู ร สื่� อทุุกชิ� น ะผ่่านกระ นการสร้้าง รรค์ แ ะ รุ ภาพอย่่างเข้้มข้้น ากค ะผู้� ทรงคุุ ฒิ เพื� ให้้ม � นใ่ าเป็็นสื่� การเรียนรู� ที� มีค ามถูกต้ ง แ ะ ดคล้ งกั แน ทางการพัฒนาสื่� เพื� กระตุ้� นค าม นใ ในการเรียนรู� งผู้� เรียน แ ะู กฝัังทักษะ กระ นการ แ ะเ คติิทางวิิทยาศา์ คณิิ ศา์ แ ะเทคโนโลยีี ผ่่านการเรียนรู� แบบสืืบ เ าะที� เชื� มโยงกับชีีวิิิ งเพื� อมุ่่งสร้้าง มรรถนะให้้ับผู้้� เรียนเ ม มา” ดร.ศรเทพ วรรณรัตน์ ผู้อำนวยการสำนักวิชาคณิตศาสตร์และ เทคโนโลยี ซึ่่� งรับผิดชอบการพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลของ สสวท. กล่าวถึงสื่อแห่งอนาคตที่กำลังจะปรับเปลี่ยนรูปแบบ นอกจากสื่อที่ใช้เพื่อการเรียนการสอนแล้ว สสวท. ยังเคยผลิตสื่อเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ ตามช่องทางต่างๆ อาทิ รายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ โดยรายการโทรทัศน์ที่ได้รับความชื่นชมเป็นอย่างมากคือ รายการวิทยสัประยุทธ์ ซึ่่� งเป็นรายการเกมโชว์ทาง วิทยาศาสตร์ที่ออกอากาศทา งสถานีวิทยุโทรทัศน์ กองทัพบกช่อง 5 ในปี พ.ศ. 2554 – 2556 ได้รับรางวัลชนะเลิศ ASIAN TELEVISION AWARDS 2011 รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ประจำปี 2554 รางวัลเมขลา ครั้งที่ 24 และรางวัลนา ราช ครั้งที่ 4 เว็บไซต์ Project 14 bit.ly/233-14

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1