นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 236
ปีที่ 50 ฉบับที่ 236 พฤษภาคม - มิถุนายน 2565 45 Andrade, M.S. & Workman, L. & Westover, J.H. (2021). Current practices for community-based learning in schools of business. Retrieved April 7, 2022, from: www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1472811721001464 Laurens, T. & Batlolona, F.A. & Batlolona, J.R. & Leasa, M. (2018). “How Does Realistic Mathematics Education (RME) Improve Students’ Mathematics Cognitive Achievement?” EURASIA Journal of Mathematics, Sciences and Technology Education. 14 (2): 569-578. Ibrahim, M. (2010). “The Use of Community Based Learning in Educating College Students in Midwestern USA”. Procedia Social and Behavioral Sciences. 2 (2): 392-396. Wahyudi, Joharman and Ngatman. (2017). The Development of Realistic Mathematics Education (RME) For Primary Schools’ Prospective Teachers. Retrieved April 7, 2022, from www.atlantis-press.com/proceedings/ictte-17/25885789 ชานนท์ จันทรา. (2550). การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริงของผู้เรียน ตอนที่ 2. นิตยสาร My Maths. 3 (8): 44-48. ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลระยอง. (ม.ป.ป). การวัดขนาดตัวอย่างสัตว์น้ำ�. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2565. จาก https://www.fisheries.go.th/mfemdec/mainweb/km_html/km_measurement.html วิไลภรณ์ ฤทธิคุปต์. (2561). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน: กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพของครูในศตวรรษที่ 21. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย . 11 (3): 179-191. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). ความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2565. จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/about-pisa/mathematical-literacy/ บรรณานุกรม 4. หลังจากนักเรียนหาขนาดของปลาได้ ให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มคำ�นวณจำ�นวนปลาที่จะจับได้ใน แต่ละครั้ง โดยนำ�พื้นที่ของตาอวนหารด้วยขนาดของปลา แต่ละตัว 5. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มคำ�นวณร้อยละของ จำ�นวนปลาที่สามารถจับได้ในอีก 10 ปีข้างหน้า โดยครู แจกโจทย์ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแตกต่างกัน เช่น กลุ่มที่ 1 สามารถจับปลาได้ 50% ของจำ�นวนปลาทั้งหมด แล้ว ให้นักเรียนช่วยกันคำ�นวณว่าหากจับปลาในจำ�นวนเท่านี้ อีก 10 ปีข้างหน้า นักเรียนจะยังมีจำ�นวนปลาให้จับ เพียงพอหรือไม่ อย่างไร 6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอสิ่ งที่ คำ�นวณได้ในข้อที่ 5 หลังจากนั้นให้นักเรียนช่วยกัน วิเคราะห์ว่าควรจะจับปลาร้อยละเท่าไรของจำ�นวนปลา ทั้งหมดที่จับได้ จึงจะเหมาะสมและสามารถจับปลาได้ อย่างยั่งยืน สื่อการเรียนการสอน • ใบกิจกรรมที่ 3 : การหาจำ�นวนของปลา เพื่อการจัดการในอนาคต • ตัวอย่างอวนที่ใช้สำ�หรับจับปลา • ตัวอย่างปลาที่นำ�มาให้นักเรียนหาขนาด ของปลา • อุปกรณ์วัดความยาว ได้แก่ ตลับเมตร เชือก จากกิจกรรมการเรียนรู้ข้างต้น นักเรียนจะได้ ลองประมาณการปริมาณของปลาจำ�นวนมากที่สุดที่ ชาวประมงสามารถจับได้ในแต่ละครั้งอย่างง่ายๆ ซึ่งในการ จับปลาแต่ละครั้งหากชาวประมงเน้นจับปลาในปริมาณ ที่มากที่สุดโดยไม่ได้คำ�นึงว่าในอนาคตจะยังมีปลาให้สามารถจับได้ปริมาณเท่าเดิม อีกหรือไม่ ปลาที่จับได้อาจจะมีจำ�นวนลดน้อยลงอย่างต่อเนื่องและหมดไปในที่สุด การใช้ความรู้ ทางคณิตศาสตร์เข้ามาช่วยในการอธิบายข้อมูลจะทำ�ให้สามารถคาดคะเนปริมาณปลา และ คำ�นวณหาปริมาณการจับปลาที่เหมาะสมได้ ผู้เรียนจะเกิดความรู้ความเข้าใจว่าชาวประมง ควรจับปลาในปริมาณเท่าใดที่จะทำ�ให้ยังคงมีปลาเหลืออยู่เพียงพอให้จับได้ต่อไป ดังนั้น กิจกรรมในหน่วยการเรียนนี้จะเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักต่อ การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ�ให้คงอยู่ เพื่อที่ในอนาคตชาวบ้านในชุมชนจะยังสามารถ ทำ�การประมงต่อไปได้อย่างยั่งยืน การนำ�สถานการณ์และบริบทในชีวิตจริงของผู้เรียนมาเป็นฐานคิดในการออกแบบ หน่วยการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์โดยการประยุกต์ใช้อาชีพในชุมชนมาเป็นฉากทัศน์ (scenario) ในการสร้างกิจกรรมปฏิบัติการและใช้คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ จะช่วยให้ผู้เรียนมองเห็นบริบทของการประยุกต์ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ในโลกแห่งความเป็นจริง ทำ�ให้คณิตศาสตร์เป็นเรื่องใกล้ตัวและมีความหมายต่อชีวิต และผู้เรียนเห็นคุณค่าของการนำ� คณิตศาสตร์ไปใช้ประโยชน์มากขึ้น
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5