นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 236
ปีที่ 50 ฉบับที่ 236 พฤษภาคม - มิถุนายน 2565 9 Bybee, R. W. (2013). The case for STEM education: Challenges and opportunities . NSTA press. Capraro, M. R. & Capraro, M. M. & Morgan, J. (2013). STEM Project-Based Learning : An Integrated Science, Technology, Engineering, and Mathematics (STEM) . Approach: Brill - Sense. Lantz, H. B. (2009). Science, Technology, Engineering, and Mathematics (STEM) Education What Form? What Function?. Retrieved Apr 15, 2022. from https://dornsife.usc.edu/assets/sites/1/docs/jep/STEMEducationArticle.pdf. Onder, R. & Kocaeren, A. A. (2015). Analysis of science teacher candidates’ environmental knowledge, environmental behavior and self-efficacy through a project called “Environment and Energy with Professional Science Education”. Procedia - Social and Behavioral Sciences. 186 : 105-112. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม. (2563). การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล . เทศบาลตำ�บลลานกระบือ. สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา. บานชื่น นักการเรียน และเพ็ญศรี บางบอน. (2559). การพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารสิรินธรปริทัศน์. 17 (2): 64-69. สหประชาชาติประเทศไทย. (2565). เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน พ.ศ. 2565. จาก https://thailand.un.org/th/sdgs/11. สมชาย พัฒนาชวนชม. (2557). เชื่อมต่อ STEMด้วยโครงงานและ ICT สู่ทักษะศตวรรษที่ 21. นิตยสาร สสวท. 42 (186): 25-28. เสรี วรพงษ์. (2561). สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 1 (1): 170-185. บรรณานุกรม 6.นำ�เสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Presentation) คณะผู้เขียนนำ�เสนอแนวคิดและขั้นตอนการแก้ปัญหาของการ สร้างชิ้นงาน รวมทั้งรายงานผลการดำ�เนินงานให้เข้าใจง่ายและน่าสนใจ บทสรุป การใช้องค์ความรู้ทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) ซึ่ง ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน เป็นการบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี คณิตศาสตร์ ผ่านกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยนำ�จุดเด่นและ ธรรมชาติของแต่ละวิชามาผสมผสานกันอย่างลงตัว เพื่อสร้างผลงาน ในรูปแบบของถังขยะเพื่อแก้ปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในครัวเรือน ซึ่งเป็น ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อมและยังส่งผลรบกวน ต่อมนุษย์ และเพื่อให้สามารถนำ�ความรู้ทุกแขนงไปใช้ในการแก้ปัญหา ในชีวิตจริง นำ�ไปสู่การสร้างนวัตกรรมในอนาคต ความตระหนักในปัญหา ของการกำ�จัดของเสียที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำ�วันจะช่วยส่งเสริมให้ แต่ละบุคคลเกิดความตระหนักในเรื่องของสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับมิติ การพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ซึ่งเป็นหนึ่งในหลักการสำ�คัญของการพัฒนา ที่ยั่งยืน โดยเน้นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในปริมาณที่ระบบนิเวศสามารถ ฟื้นตัวกลับสู่สภาพเดิมได้ และมีการปล่อยมลพิษออกสู่สิ่งแวดล้อมในระดับ ที่ระบบนิเวศสามารถดูดซับและทำ�ลายมลพิษนั้นได้ (บานชื่น นักการเรียน และ เพ็ญศรี บางบอน, 2559) โดยรูปแบบผลงานที่ออกแบบและสร้างขึ้นเพื่อ จัดการกับขยะอินทรีย์ที่เหลือจากครัวเรือน ไม่เพียงแต่สามารถแก้ปัญหาขยะ เท่านั้น แต่ยังสามารถนำ�ผลผลิตที่ได้จากการย่อยสลายเศษอาหารในถังขยะ มาสร้างประโยชน์ในเรื่องของธาตุอาหารที่เป็นผลพลอยได้ใช้ในการปรับปรุงดิน ทำ�ให้ดินมีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชอีกด้วย
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5