นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 237

ปีที่ 50 ฉบับที่ 237 กรกฎาคม - สิงหาคม 2565 21 การเคลื่อนที่ อย่างไรก็ตาม ครูควรบอกข้อพึงระวังกับนักเรียนว่า แรงเป่าลม จากนักเรียนแต่ละคนซึ่งไม่เท่ากันอาจมีผลทำ�ให้ได้ระยะทางต่างกันได้ ดังนั้น อาจต้องคิดต่อยอดวิธีการเป่าหรือแรงส่งให้มีขนาดเท่ากันด้วย ข้อแนะนำ�การนำ�ไปใช้ การนำ�กิจกรรมการเรียนรู้นี้ไปใช้กับนักเรียนสามารถปรับปรุง กิจกรรมให้เหมาะสมกับบริบทของนักเรียน กรอบเวลา รวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ ที่ครูสามารถจัดหาได้ กิจกรรมนี้สามารถใช้กับนักเรียนระดับประศึกษา หรือมัธยมศึกษาได้โดยครูมีบทบาทในการให้ความช่วยเหลือและระวัง ความปลอดภัยในการใช้วัสดุอุปกรณ์ด้วย สำ�หรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา สามารถปรับเพิ่มลำ�ดับกิจกรรมการทดลองให้ละเอียดขึ้น เช่น การกำ�หนด วิธีการออกแรงเป่าให้มีแรงกระทำ�เท่ากันเป็นการควบคุมตัวแปร การวัดมุม เพื่อศึกษาระยะทางกับมุมเริ่มต้นของการเคลื่อนที่ โดยรูปแบบการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ควรเน้นการดำ�เนินงานที่สอดคล้องกับแนวคิดการเรียนรู้ เชิงรุก (Active Learning) ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและตื่นตัวทั้งด้าน สติปัญญา (Intellectual) ร่างกาย (Physical) อารมณ์ (Emotional) และ สังคม (Social) (ทิศนา เขมณี, 2551) กระบวนการวัดและประเมินผลของกิจกรรมการเรียนรู้นี้ ควรเน้น ที่กระบวนการทำ�งาน (Performance Task) ตั้งแต่การออกแบบ การทดลอง การนำ�เสนอ รวมทั้งผลลัพธ์ที่ได้เป็นการส่งเสริมการประเมินระหว่างทาง (Formative Assessment) เพื่อการพัฒนาผู้เรียน และให้เกิดการเรียนรู้ ระหว่างการทำ�งาน ซึ่งเทคนิคการประเมินให้สอดคล้องกับเป้าหมาย จุดเน้นสมรรถนะการคิดที่คาดหวังอาจทำ�ได้หลายรูปแบบ ทั้งการใช้คำ�ถาม ระหว่างการจัดกิจกรรม การพิจารณาจากใบกิจกรรม การอธิบายหรือนำ�เสนอ ของผู้เรียน รวมทั้งการพิจารณาจากชิ้นงานที่ได้ ทั้งนี้ ควรให้ความสำ�คัญ กับการทำ�งานระหว่างทางมากกว่าการพิจารณาจากผลลัพธ์หรือชิ้นงาน ของนักเรียน Anderson, L. W. & Krathwohl, D. R., et al (Eds..) (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom’s Taxonomy of Educational Objectives. Allyn & Bacon. Boston: MA (Pearson Education Group) Cannell, T., (2018). STRAW ROCKETS Teacher’s Guide, Pitsco, Inc., Pittsburg, Retrieved June 30, 2022, from http://afk12stem.com/img/Straw-Rocket- Teachers-Guide-2018.pdf. Watson, Sue. (2020, August 26). Higher-Order Thinking Skills (HOTS) in Education . Retrieved June 30, 2022, from https://www.thoughtco.com/higher-order-thinking-skills-hots-education-3111297. Wei, R.C. & S.E. Schultz & R. Pecheone. (2012). Performance Assessments for Learning: The next generation of state assessments. Paper presented at the Annual Meeting of the American Educational Research Association: Vancouver, British Columbia. ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: สำ�นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). กระบวนการคิด. กรุงเทพมหานคร: อักษร อินสไปร์. สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ. สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กระทรวงศึกษาธิการ. (2565). (ร่าง) กรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช…. ระดับประถมศึกษา. สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2565, จาก https://cbethailand.com. บรรณานุกรม ภาพจาก : https://www.youtube.com/watch?v=BPg-wytFhGg

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5