นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 238

ปีที่ 50 ฉบับที่ 238 กันยายน - ตุลาคม 2565 21 ภาพ 3 และภาพ 4 การทดสอบสปริงเกอร์ 5. ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขชิ้นงาน (Testing, Evaluation and Design Improvement) ผู้เรียนดำ�เนินการสร้างสปริงเกอร์ เสร็จสิ้น มีการทดสอบการใช้สปริงเกอร์ และประเมินว่าสามารถนำ�ไป แก้ปัญหาในการรดน้ำ�ต้นไม้ได้หรือไม่ ดังภาพ 3 ที่พบว่าน้ำ�ยังกระจายได้ ไม่ดีพอ ผู้เรียนจึงทำ�การปรับปรุงและพัฒนาให้สปริงเกอร์ใช้งานได้เหมาะสม โดยทำ�ให้น้ำ�กระจายเป็นฝอยและกระจายมากขึ้น ดังภาพ 4 6. ขั้นนำ�เสนอชิ้นงาน และผลการแก้ปัญหา (Presentation) ผู้เรียนนำ�เสนอขั้นตอนการสร้างสปริงเกอร์ รวมถึงวิธีการใช้งานให้ผู้อื่นเข้าใจ และรับข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาต่อไป โดยสรุปแล้วในการสร้างสปริงเกอร์เพื่อลดการใช้แรงงานคน และลดระยะเวลาในการรดน้ำ�ต้นไม้ เป็นการบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ผนวกกับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ดังแสดงในตารางต่อไปนี้ ี ที่ ั บี่ ั นุ ล S : วิทยาศาสตร์ - แรงดันน้ำ� - สมบัติวัตถุและวัสดุต่าง ๆ - การใช้ของซ้ำ� (reuse) - วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่นำ�มาใช้ - การคิดเชิงคำ�นวณในการ วิเคราะห์ปัญหาในการสร้าง สปริงเกอร์ - สปริงเกอร์ - กระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม ในการทำ�สปริงเกอร์ ภายใต้เงื่อนไขที่กำ�หนด - ความรู้ ทักษะ และกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ - จำ�นวน - การคำ�นวณพื้นที่และระยะทาง T : เทคโนโลยี E : วิศวกรรมศาสตร์ M: คณิตศาสตร์ จากการจัดการเรียนรู้จะเห็นได้ว่า ขวดพลาสติกที่เป็นขยะ สามารถนำ�มาใช้ในการสร้างเป็นนวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นใน ชีวิตประจำ�วันได้ โดยใช้ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี คณิตศาสตร์ ประกอบกับการออกแบบทางวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อใช้ในการสร้างนวัตกรรม เป็นการลดปริมาณขยะ โดยการนำ�วัสดุเหลือใช้ มาพัฒนาต่อยอดให้เกิดคุณค่ามากที่สุด อีกทั้งยังเป็นนวัตกรรมเพื่อใช้ ในการแก้ปัญหาที่สามารถทำ�ได้ง่าย และใช้งานได้จริงในชีวิตประจำ�วัน อีกด้วย ศุภกิจ สุทธิเรืองวงศ์ และสุจิตรา วาสนาดำ�รงดี. (2562). ข้อเท็จจริง “พลาสติกที่ย่อยสลายได้ในสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ” (Environmentally Degradable Plastics: EDP) . วารสารสิ่งแวดล้อม. 23 (2): 12–16. บรรณานุกรม

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5