นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 238

24 นิตยสาร สสวท. คนที่ คนที่ 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 8.6 7.5 7.6 8.6 8.7 83 87 86 75 80 6.5 7.1 6 5.9 5.3 77 61 60 70 69 7 7.1 7 7.5 7.5 70 70 70 70 70 5.8 5.8 6.1 6.8 58 58 58 58 5.5 6.5 6.2 6.3 57 55 54 56 7.5 7.9 6.9 7.4 8.2 82 81 84 75 84 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 6 ความยาวต้นถั่วงอก (มิลลิเมตร) ความยาวต้นถั่วงอก (มิลลิเมตร) จากตาราง 1 ผู้สอนสามารถตรวจสอบได้ว่า ผู้เรียนส่วนใหญ่ขาดความมั่นใจในการวัดและมักจะสอบถามตัวเลข จากสมาชิกภายในกลุ่มเพื่อทำ�ให้ตัวเลขที่ได้จากการวัดของตนเองไม่แตกต่างจากเพื่อนสมาชิกในกลุ่มมากนัก นอกจากนี้ ยังพบว่าผู้เรียนไม่สามารถอ่านค่าที่ถูกต้องจากการวัดได้ ไม่สามารถระบุได้ว่ามิลลิเมตรและเซนติเมตรต้องอ่านค่าอย่างไร ทำ�ให้ค่าที่ได้จากการทดลองวัดต้นถั่วงอกน้อยกว่าความเป็นจริง โดยผู้เรียนทั้งห้องจะอ่านค่าเป็นเซนติเมตรโดยเข้าใจว่านี่คือ หน่วยเป็นมิลลิเมตร ต่อมา ผู้สอนได้นำ�ภาพไม้บรรทัดแสดงผ่านเครื่องฉายภาพบนกระดานหน้าชั้นเรียน และอธิบายถึงขั้นตอนการอ่าน หน่วยเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร จากนั้นให้ผู้เรียนวัดความยาวต้นถั่วงอกต้นเดิมของแต่ละกลุ่มอีกครั้ง และให้แต่ละคน เดินมารายงานผลการวัดความยาวของต้นถั่วงอกมีหน่วยเป็นมิลลิเมตร ตาราง 1 แสดงผลการวัดความยาวต้นถั่วงอก ครั้งที่ 1 ตาราง 2 แสดงผลการวัดความยาวต้นถั่วงอก ครั้งที่ 2 จากตาราง 2 จะเห็นได้ว่าผู้เรียนทั้งห้อง สามารถอ่านค่าที่ได้จากการวัดต้นถั่วงอกเป็นมิลลิเมตรได้ และจากการสังเกต การทำ�งานกลุ่ม พบว่ากลุ่มที่ 3 และ 4 มีตัวเลขที่ได้จากการวัดเท่ากันหมด เป็นผลเนื่องมาจากสมาชิกภายในกลุ่มได้พูดคุย สอบถามค่าที่ได้จากการวัดจากสมาชิกในกลุ่มที่ทุกคนคิดว่าเก่งที่สุด

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5