นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 238
ปีที่ 50 ฉบับที่ 238 กันยายน - ตุลาคม 2565 31 สะเต็มศึกษาเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนเป็นนักแก้ปัญหา และนวัตกร (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี, 2557) อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมา สะเต็มศึกษาในประเทศไทยยังไม่สามารถตอบโจทย์ที่พัฒนาผู้เรียนไปสู่เป้าหมายที่คาดหวัง ตามนโยบายชาติที่ต้องการพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นพลเมืองที่มีสมรรถนะการทำ�งานซึ่งนำ�ไปสู่การแข่งขัน ได้อย่างทัดเทียมกับประเทศอื่นๆ โดยจะเห็นได้จากผลการประเมินระดับนานาชาติ เช่น โปรแกรมประเมินสมรรถนะผู้เรียนมาตรฐานสากล (Programme for International Student Assessment หรือ PISA) ที่ยังอยู่ในระดับต่ำ� (ศูนย์ดำ�เนินงาน PISA แห่งชาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2562) ถอดรหัสกิจกรรมสะเต็มศึกษา บูรณาการแนวคิดเศรษฐกิจบีซีจี เพื่อเป้าหมายการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน รองศาสตราจารย์ ดร.ชาตรี ฝ่ายคำ�ตา อาจารย์ประจำ�สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ e-mail: feductf@ku.ac.th ณภัทร สุขนฤเศรษฐกุล นักวิชาอิสระด้านวิทยาศาสตร์ศึกษา e-mail: naphat.suk@ku.th สหรัฐ ยกย่อง ครูโรงเรียนสิริรัตนาธร กรุงเทพมหานคร พงศธร ปัญญานุกิจ ครูโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย 2 สงขลา กนกเทพ เมืองสง จันทิมา นิลอุบล นิสิตปริญญาโท สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ธาฤชร ประสพลาภ นิสิตปริญญาเอก สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาพจาก : https://reder.red/bio-circular-green-economy-greensociety-16-07-2021/ ี ที่ ั บี่ ั นุ ล
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5