นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 239
24 นิตยสาร สสวท. ที่เรียนเชื่อมโยงกับชีวิตประจำ�วัน และสำ�หรับผู้สอนที่สนใจการจัดการ เรียนรู้แบบใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานไปใช้ในห้องเรียน สามารถเชื่อมโยง ปรากฏการณ์ต่างๆ ที่อยู่รอบตัวในชีวิตประจำ�วันที่สอดคล้องกับบทเรียน ได้อย่างหลากหลาย Nelson, Jim & Nelson, Jane Bray. (2015) Buoyancy Can-Can. The Physics Teacher. May 2015, Retrieved October 9, 2022, from https://doi.org/10.1119/1.4917432. NGThai. (2019). แรงพยุง หรือแรงลอยตัว (Buoyant Force) . สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2565. จาก https://ngthai.com/science/24254/buoyantforce/. NikornSci. (2018). แรงพยุง . สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2565, จาก https://nikornsci.wordpress.com/2018/07/15/. ทิพย์พิมล เกียรติวาทีรัตนะ. (2563). Phenomenon Based Learning: กินดีอยู่ดีและมีความสุข หลักสูตรการเรียนรู้ฉบับฟินแลนด์. สืบค้นเมื่อ 9 ตุลาคม 2565, จาก https://www.eef.or.th/phenomenon-based-learning. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพร้าว. สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). Focus ประเด็นจาก PISA . สืบค้นเมื่อ 9 ตุลาคม 2565, จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/issue-2019-48. บรรณานุกรม จากการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานนี้ ผู้เรียน มีความเข้าใจถึงที่มาของสมการแรงพยุง หรือถ้าหากผู้สอนประยุกต์ใช้กับ เนื้อหาอื่น ผู้เรียนก็จะเห็นภาพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ทำ�เป็น คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น และสามารถใช้เนื้อหา 5. ขั้นอธิบาย (Explanation) ขั้นสุดท้ายผู้เรียนสามารถสร้างคำ�อธิบายร่วมกัน ซึ่งจากผลการทดลองจะได้สมการแรงพยุง วิเคราะห์ค่าความชันที่ได้จากกราฟ คือ 10 นิวตันต่อลิตร (N/L) และสังเกตที่หน่วยของความชัน จากนั้นคูณด้วยกิโลกรัม (kg) ทั้งเศษและส่วน ดังนั้น หน่วยของความชันจะได้ เมื่อพิจารณาหน่วยของความชันแล้วจะพบว่าเป็นหน่วยของความเร่งโน้มถ่วง (g) และความหนาแน่นของของเหลว ( ρ ) ซึ่งมีค่า ดังนี้ N kg L kg ดังนัั้น ในที่นี้ ความชัน หมายถึง ความหนาแน่นของ น้ำ� ρ คูณกับ ความเร่งโน้มถ่วง g
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5