นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 239
ปีที่ 51 ฉบับที่ 239 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2565 53 ภาพ 2 ความแตกต่างของคะแนนการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ระหว่างนักเรียนที่มีกรอบความคิดแบบเติบโต และนักเรียนที่มีกรอบความคิดแบบตายตัว จำ�แนกตามกลุ่มสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมของนักเรียน หมายเหตุ: ความแตกต่างของคะแนนในทุกด้านมีนัยสำ�คัญทางสถิติ 26 29 29 39 30 34 57 67 60 27 18 23 31 38 31 -12 -12 -12 -60 -40 -20 0 20 40 60 80 100 ก า ร อ่ า น คณิตศ า สต ร์ วิทย า ศ า สต ร์ ก า ร อ่ า น คณิตศ า สต ร์ วิทย า ศ า สต ร์ นักเรียนที)ด้อยเปรียบ นักเรียนที)ได้เปรียบ นักเรียนที)ได้เปรียบ - นักเรียนที)ด้อยเปรียบ ความแตกต่างของคะแนน นักเรียนที่ด้วยเปรียบ นักเรียนที่ได้เปรียบ นักเรียนที่ด้วยเปรียบ - นักเรียนที่ได้เปรียบ ไทย ประเทศสมาชิก OECD นอกจากนี้ ยังพบว่าเจตคติดังกล่าวส่งผลเชิงบวกต่อคะแนน PISA ทั้งสามด้าน ของนักเรียนไทยด้วย (ดังภาพ 3) ดังนั้น เจตคติต่างๆ เหล่านี้ จึงมีบทบาทสำ�คัญ ในการเป็นตัวกลางเชื่อมระหว่างการมีกรอบความคิดแบบเติบโตกับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน อย่างไรก็ตาม แม้ว่านักเรียนไทยที่มีกรอบความคิดแบบเติบโต จะมีเจตคติที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้มากกว่านักเรียนที่มีกรอบความคิด แบบตายตัว แต่ก็ยังถือว่านักเรียนไทยมีเจตคติเหล่านี้อยู่ในระดับที่น้อยมาก ดังนั้น จึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจว่า หากส่งเสริมให้นักเรียนไทยมีกรอบความคิด แบบเติบโตควบคู่ไปกับการส่งเสริมให้นักเรียนมีเจตคติเหล่านี้เพิ่มมากขึ้นด้วย ก็อาจเป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนได้มากขึ้น ภาพ 3 การเปลี่ยนแปลงของคะแนนการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนไทยที่มีกรอบความคิดแบบเติบโต เมื่อค่าดัชนีเจตคติทั่วไปและเจตคติต่อการเรียนรู้ เพิ่มขึ้น 1 หน่วย หมายเหตุ: การเปลี่ยนแปลงของคะแนนในทุกดัชนีมีนัยสำ�คัญทางสถิติ 27 16 15 14 5 21 11 11 12 5 25 16 10 14 5 0 5 10 15 20 25 30 การมีแรงจูงใจ ใฝ่สัมฤทธิ 4 ในการทํางาน การรับรู้ถึง ความสามารถและ ศักยภาพของตนเอง การกลัว ความล้มเหลว การตัHงเป้าหมาย การเรียนรู้ การเห็นคุณค่า ของการเรียนรู้ ในโรงเรียน การอ่าน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงของคะแนน การอ่าน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เจตคติต่อการเรียนรู้ เจตคติทั่วไป
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5