นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 239

60 นิตยสาร สสวท. ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายเรา เช่น Zn, Fe, Cu, N, K, P และ Mg โดยพบว่า ทั้งในข้าวทนเค็มและข้าวที่ไม่ทนเค็ม เมื่อนำ�มา ปลูกในดินเค็มจะมีผลทำ�ให้ข้าวทั้งสองชนิดดูดซึม N, P, K และ Mg เข้าไปสะสมไว้ในเมล็ดข้าวได้น้อยลง (N, P, K เป็นธาตุอาหารหลักที่พืช จำ�เป็นต้องใช้ในการดำ�รงชีวิต) แต่จะดูดซึม Na และ Cu เข้าไป สะสมไว้ในเมล็ดข้าวมากขึ้น สุดท้าย จากเรื่องราวที่ต่ายเล่าสู่กันฟัง ต่ายเชื่อว่า น่าจะ มีส่วนช่วยให้เกิดแรงผลักดันอะไรบางอย่างที่จะทำ�ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงแบบนี้บ้างกับประเทศของเรา สิ่งสำ�คัญที่สุดของการสร้าง ความเปลี่ยนแปลงก็คือ ความมุ่งมั่นและไม่ย่อท้อต่อเป้าหมายที่ตั้งไว้ ไม่ว่าเป้าหมายที่เราตั้งไว้จะเป็นเรื่องอะไรก็ตาม สู้ๆ นะจ๊ะ หากสนใจ หรืออยากให้ต่ายติดตามเรื่องราวอะไรเป็นพิเศษ เหมือนเดิมคุณ สามารถเขียน email ส่งมาบอกกล่าว หรือมาคุยกับต่ายได้เช่นเดิม ที่ funny_rabbit@live.co.uk ปีใหม่นี้ ต่ายขอให้คุณๆ มุ่งมั่นกับ การออกกำ�ลังกายดูแลสุขภาพกันจ้า QUIZิ ต Yuan Longping บิดาแห่งการพัฒนาสายพันธุ์ข้าวลูกผสม ที่ถ่ายภาพในแปลงปลูกข้าว พันธุ์ Super hydrid ในเมือง Guangxi Zhuang ในปี 2017. ที่มา: VCG/Visual China Group ประเด็นต่อมาที่น่าสนใจคือ ข้าวทนเค็มจะมีรสอร่อยไหมและมีคุณค่าทางโภชนาการแตกต่างจากข้าวที่ปลูกในดินปกติไหม จะเค็มกว่าไหมหรือน่าจะอร่อยกว่าข้าวปกติ ก็น่าจะเป็นเรื่องที่ผู้บริโภคสนใจด้วยเช่นกัน เพราะในยุคนี้ซึ่งเป็นยุคแห่งการแข่งขันทางการตลาด กันอย่างดุเดือด ของดีแต่ไม่อร่อยก็มักจะขายไม่ได้ ของอร่อยแต่ไม่ดีต่อสุขภาพก็จะขายได้สักระยะหนึ่ง สินค้าต้องทั้งดีและอร่อยจึงจะอยู่รอด ขยายตลาดผู้บริโภคไปได้ ก่อนที่จะไปดูกันที่คุณค่าทางโภชนาการ เรามาดูกันเรื่องคลอโรฟิลล์ รงควัตถุสีเขียวที่พืชส่วนใหญ่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง กันก่อน นักวิทยาศาสตร์พบว่า สภาพดินเค็มมีผลทำ�ให้จำ�นวนคลอโรฟิลล์ของพืชลดลง แต่ในพืชที่ทนเค็มผลกระทบดังกล่าวเกิดขึ้นน้อยมากๆ นั่นแสดงให้เห็นว่า พืชทนเค็มสามารถปรับตัวและเกิดการสร้างอาหารผ่านกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงได้เป็นอย่างดี นักวิทยาศาสตร์พบว่า ในข้าวทั่วๆ ไปที่ไม่ใช่ข้าวทนเค็ม ถ้าระดับความเค็มในดินไม่มากนักจะมีผลต่อการสะสมของคาร์โบไฮเดรต ในเมล็ดข้าวน้อย แต่สำ�หรับโปรตีนและกรดอะมิโนซึ่งเป็นองค์ประกอบประมาณ 5 - 12% ของเมล็ดข้าว สภาพดินเค็มมีผลต่อการทำ�ให้ปริมาณ โปรตีนและกรดอะมิโนในเมล็ดข้าวลดลงจากสภาพดินปกติที่ข้าวสายพันธุ์นั้นๆ ชอบ นอกจากนี้ สภาพดินเค็มยังส่งผลต่อการดูดซึมแร่ธาตุ สุขใดๆ ไม่ยั่งยืน และดีต่อตัวเรา เท่าสุขภาพ ต่าย แสนซน

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5