นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 240

ปีที่ 51 ฉบับที่ 240 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2566 31 ในขั้นตอนนี้นักเรียนสามารถเติมจำ�นวนลงในกล่องปริศนาได้ครบทุกกล่อง ทำ�ให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาด้วยการ ดำ�เนินการทางคณิตศาสตร์ ครูและนักเรียนสรุปการดำ�เนินการจากกล่องปริศนาได้ดังนี้ [(15 - 7) ÷ 2] + 3 = 7 จากการสรุปจะได้แนวคิด เพื่อนำ�มาประยุกต์ใช้ในขั้นตอนต่อไป ขั้นตอนที่ 3 การเปลี่ยนกล่องปริศนาให้อยู่ในรูปสมการ เมื่อนักเรียนเข้าใจและสามารถเติมคำ�ตอบลงในกล่องปริศนาได้ถูกต้อง ครูจะเชื่อมโยงแผนภาพกล่องปริศนาไปสู่การเขียน สมการเชิงเส้นดังนี้ จากข้อสรุปในขั้นตอนที่ 2 ถ้าให้นักเรียนแทน 15 ด้วยตัวไม่ทราบค่า (x) จะสามารถเขียนสมการจากกล่องปริศนา ได้ดังนี้ [(x – 7) ÷ 2] + 3 = 7 ครูอธิบายคำ�ถามแล้วให้นักเรียนเติมจำ�นวนลงในกล่องปริศนาพร้อมทั้งเขียนสมการ นักเรียนจะเติมจำ�นวนลงในกล่องดังนี้ จะได้ข้อสรุปดังนี้ { [ ( 8 × 3 ) - 1 ] × 2 } + 1 = 47 จากนั้นให้นักเรียนแทน 8 ด้วยตัวแปรไม่ทราบค่า (a) จะได้สมการดังนี้ { [ ( a × 3 ) - 1 ] × 2 } + 1 = 47 ขั้นตอนที่ 4 การเปลี่ยนสมการให้เป็นแผนภาพกล่องปริศนา เมื่อนักเรียนเขียนสมการจากกล่องคำ�ตอบได้แล้ว ในขั้นตอนนี้จะเป็นการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนแบบทำ�ย้อนกลับ โดย ครูจะกำ�หนดสมการให้ แล้วให้นักเรียนสร้างกล่องคำ�ตอบ กำ�หนดสมการ (2 x + 5) × 3 = 21 กล่องปริศนา ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบตัวเลขย้อนกลับ ในขั้นตอนนี้จะเป็นการใช้สมบัติการมีตัวผกผันของจำ�นวนเพื่อช่วยให้นักเรียนได้ตรวจสอบคำ�ตอบ กำ�หนดสมการ (2 x + 5) × 3 = 21 กล่องปริศนา คำ�ถามที่ 1 จากข้อสรุปจะได้ว่า 7 x 3 = 21 ในทางกลับกัน เราสามารถเขียนในรูปแบบตัวผกผันการคูณได้เป็น 7 = 21 x = 21 ÷ 3 x3 -1 x2 +1 47 x3 -1 x2 +1 8 24 23 46 47 x2 +5 x3 1 2 7 21 x2 +5 x3 1 2 7 21 x2 +5 x3 ÷ 3 1 2 7 21 1 3

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5