นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 240

ปีที่ 51 ฉบับที่ 240 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2566 41 (4B) ภาพ 4 ตัวอย่างการใช้เทมเพลตเพื่อส่งเสริมการกำ�หนดเงื่อนไขและข้อจำ�กัดผ่านการพิจารณาสถานการณ์ปัญหา เทมเพลตแสดงกระบวนการ ทำ�ความเข้าใจปัญหา ตัวอย่างการระบุรายละเอียดในเทมเพลต เริ่มต้นที่ปัญหาขยะพลาสติกมีปริมาณมาก ค้นหาสาเหตุพบว่ามาจากความต้องการใช้แก้วสูง อาจมีได้มากกว่า 1 สาเหตุ เช่น ธุรกิจเครื่องดื่มขยายตัว ได้มาซึ่งแนวทางแก้ปัญหา คือ แก้วที่ใช้ซ้ำ�ได้/พกพาสะดวก เมื่อได้แนวทางที่ชัดเจนขึ้น ในรอบที่ 3 เป็นการเจาะลึกถึง เป้าหมายของกิจกรรมว่าทำ�อย่างไรให้แก้วพับได้แตกต่างจาก สินค้าที่พบได้มากตามท้องตลาด การวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของปัญหาในรอบที่ 2 ทำ�ให้ ค้นพบสาเหตุของแก้วพกพาที่ไม่เป็นที่นิยม เพราะความจุ ที่มากมาพร้อมกับขนาดที่ใหญ่ทำ�ให้พกพาไม่สะดวก ปัญหา -> สาเหตุ -> แนวทางแก้ปัญหา ปัญหา -> สาเหตุ -> แนวทางแก้ปัญหา ปัญหา -> สาเหตุ -> แนวทางแก้ปัญหา (รอบที่ 1) (รอบที่ 3) (รอบที่ 2) ตรวจสอบแนวทางแก้ปัญหา ด้วยประเด็นชวนคิด ตรวจสอบแนวทางแก้ปัญหา ด้วยประเด็นชวนคิด ตรวจสอบแนวทางแก้ปัญหา ด้วยประเด็นชวนคิด กำ�หนดสถานการณ์ผ่านมุมมอง จากลูกค้า (Clients) หรือ ความต้องการจำ�เป็น (Needs) สถานการณ์ที่ถูกวิเคราะห์เชื่อมโยง ไปถึงการได้มาซึ่งเกณฑ์ระบุ ประสิทธิภาพชิ้นงานที่ผู้เรียน จะศึกษา (Criteria) สถานการณ์มีแนวทางแก้ปัญหา สอดคล้องกับจุดอ่อนของผลิตภัณฑ์ (Pain Points) เมื่อประเมินหรือสืบค้นแล้ว ยังพบว่าแก้วที่พกพาได้มีอยู่เยอะ ตามท้องตลาดแล้ว จึงเป็นจุดเปลี่ยนความคิดว่าจะกำ�หนด สถานการณ์อย่างไรให้ได้แก้วที่พกพาสะดวกและแตกต่าง จากที่มีอยู่ การได้มาซึ่งแนวทางแก้ปัญหาที่นำ�ไปสู่เงื่อนไขและข้อจำ�กัด ที่ชัดเจนผ่าน 3 ประเด็นสำ�คัญในสถานการณ์ปัญหาดังแสดง ในตัวอย่าง คือ 1) พับด้วยวิธีที่แตกต่าง 2) เพิ่มมูลค่า ด้วยเรื่องราว และ 3) สร้างแก้วพับได้ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว พิจารณาแล้วพบว่า วิธีการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้และสอดคล้อง กับปัญหาคือ แนวทางการพัฒนาแก้วที่สามารถพับได้ ผลลัพธ์

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5