นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 240
42 นิตยสาร สสวท. เทมเพลตแสดงกระบวนการ ทำ�ความเข้าใจปัญหา ตัวอย่างการระบุรายละเอียดในเทมเพลต เงื่อนไข 1 มีวิธีการพับที่ชัดเจน ทำ�ซ้ำ�ได้ เงื่อนไข 2 พับและคลี่ออกกลับไปมาได้หลายครั้ง ข้อจำ�กัด 1 มีเวลา 7 วันนำ�เสนอแบบร่างการพับ ข้อจำ�กัด 2 แสดงการพับต้นแบบ ไม่เกิน 2 แผ่น นำ�สถานการณ์ที่ได้ มาระบุเงื่อนไข/ ข้อจำ�กัด นำ�เงื่อนไขข้อจำ�กัดมากำ�หนด ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ระบุงาน (Tasks) หรือ ความท้าทาย (Challenges) สำ�หรับปฏิบัติ กำ�หนดจุดประสงค์การเรียนรู้หรือ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่มี สถานการณ์เป็นส่วนหนึ่งในการ ประเมินผู้เรียน ตัวอย่างการกำ�หนดผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (ระยะเวลาการสืบค้นและนำ�เสนอแนวทางแก้ปัญหา) 1) นักเรียนสื่อสารแนวทางการพับที่สืบค้นมาพร้อม รายละเอียดโดยสังเขปภายในเวลาที่กำ�หนด (ทักษะการสื่อสาร ข้อมูลสารสนเทศ) 2) นักเรียนสามารถตัดสินใจเลือกรูปแบบการพับ จากแบบการพับที่สืบค้นมามากกว่า 1 แบบ โดยให้เหตุผลประกอบ การตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม (ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ) ผลลัพธ์ พบว่าเครื่องมือชิ้นนี้จะช่วยให้ผู้สอนสะเต็มวิเคราะห์การกำ�หนด สถานการณ์ในแต่ละรอบได้ละเอียดและมีความชัดเจนขึ้น โดยรอบที่ 1 อาจเริ่มต้นกำ�หนดสถานการณ์สะเต็มจากสถานการณ์รอบตัว จนกระทั่ง พบปัญหาหรือจุดอ่อน (ในทางการพัฒนางาน/ชิ้นงาน) เกี่ยวกับแก้วที่พกพา ไม่สะดวก ในขณะที่รอบที่ 2 นำ�ไปสู่แนวทางแก้ปัญหาที่มุ่งเน้นการยกระดับ หรือเพิ่มมูลค่า และในรอบที่ 3 ได้แนวทางแก้ปัญหาของสถานการณ์ ที่ผู้สอนสามารถนำ�ไปใช้กำ�หนดเงื่อนไขและข้อจำ�กัดได้อย่างชัดเจน และ ท้ายที่สุด เครื่องมือชิ้นนี้ยังช่วยเชื่อมโยงความคิดผู้สอนที่ทำ�การออกแบบ สถานการณ์ให้ผลลัพธ์ของการศึกษาอยู่ภายใต้เงื่อนไขและข้อจำ�กัดที่ กำ�หนดขึ้น พร้อมทั้งกำ�หนดทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมที่เป็นผลลัพธ์ การเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีภูมิหลังจากสถานการณ์ที่กำ�หนดขึ้น เครื่องมือที่ 2 (เทมเพลตที่ 2) ส่งเสริมการออกแบบกิจกรรมผ่านการพิจารณา ขั้นตอนหลักในการทำ�งานสะเต็ม หลายครั้งที่ผู้สอนสะเต็มมักตั้งคำ�ถามว่า ในการสอนสะเต็ม จะต้องใช้ระยะเวลากี่คาบ แม้ว่างานวิจัยที่ผ่านมาไม่มีการระบุจำ�นวนคาบ ที่เหมาะสมที่สุด แต่ภาพ 5 จะช่วยให้ผู้สอนหาคำ�ตอบของคำ�ถามดังกล่าวได้ ในขณะเดียวกัน เทมเพลตด้านล่างยังแสดงถึงตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ ที่บูรณาการวิชาวิทยาศาสตร์ที่มุ่งประยุกต์ความรู้วิทยาศาสตร์เพื่อทำ� ความเข้าใจปรากฏการณ์กับวิชานาฏศิลป์ที่มุ่งนำ�เสนอความเชื่อพื้นบ้าน ในสถานการณ์ของเหลวปริศนารั่วซึมออกจากผนังในภาพ 5 ซึ่งอธิบาย รายละเอียดได้ตาราง 2 ภาพ 5 ตัวอย่างการใช้เทมเพลตเมื่อพิจารณาตามขั้นตอนหลักในการทำ�งานด้านสะเต็ม ตาราง 1 แสดงกระบวนการทำ�ความเข้าใจปัญหา เทมเพลตแสดงขั้นตอนหลัก ในการทำ�งานสะเต็ม มุมมองวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างการระบุรายละเอียดในเทมเพลต มุมมองนาฏศิลป์ ระยะที่ 1 การตรวจสอบสถานการณ์ มีเป้าหมายเพื่อ ทำ�ความเข้าใจสถานการณ์เพื่อวิเคราะห์ปัญหา และสาเหตุของปัญหาในสถานการณ์ ผู้เรียนตรวจสอบคุณสมบัติของของเหลว ด้วยการออกแบบและวางแผนการทดสอบเพื่อ ระบุหรือบ่งชี้คุณสมบัติของของเหลวชนิดนั้น พร้อมหลักฐานเชิงประจักษ์ ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลความเชื่อหรือตำ�นานพื้นบ้าน ที่เกี่ยวข้องกับการร่ายรำ� และของเหลวสีแดง ที่ใช้ทำ�กิจกรรมทางนาฏศิลป์เพื่อระบุปัญหาและ สาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นในสถานการณ์โดยใช้ วิธีที่เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชานาฏศิลป์ เพื่อ ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาที่ระบุในระยะที่ 1 เช่น สอบถามผู้มีประสบการณ์และความเชื่อทาง ด้านนาฏศิลป์ สังเกตการเปลี่ยนแปลงบริเวณที่ ของเหลวสีแดงรั่วซึม
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5