นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 240
54 นิตยสาร สสวท. นักเรียนได้เรียนรู้ถึงแม้ว่าในโรงเรียนที่มีทรัพยากรจำ�กัดหรืออยู่ห่างไกล ก็ได้มีโอกาสเรียนรู้ได้เท่าเทียมกันและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกได้ อย่างดี Mangrove (Rhizophora apiculata))” และ “การศึกษาความสัมพันธ์ ของแหล่งที่อยู่อาศัยกับความหลากหลายของปูก้ามดาบ (Study on Relations ในการสนับสนุนการดำ�เนินงานโครงการ GLOBE สสวท. ร่วมกับ สถานทูตสหรัฐอเมริกาประจำ�ประเทศไทย เข้าร่วมกิจกรรม 2 ครั้ง ครั้งแรก กิจกรรมค่าย GLOBE และครั้งที่ 2 การติดตามการทำ�งานวิจัย การเข้าร่วม กิจกรรมแต่ละครั้งคณะจาก สสวท. และสถานทูตสหรัฐอเมริกาประจำ� จากตัวอย่างการดำ�เนินงานกิจกรรม GLOBE ภายใต้โครงการ The Extension of GLOBE Research Program and Network to Strengthen Local Wisdoms in Rural Areas of Thailand ส่งเสริมให้ ภาพ 5-1 โรงเรียนบ้านมดตะนอย ภาพ 5-2 ป่าจากหลังโรงเรียน (ที่มา: โรงเรียนบ้านมดตะนอย และ สสวท.) ภาพ 5-3 ปูในบริเวณป่าจาก ภาพ 6-1 การร่วมกิจกรรมค่าย GLOBE โรงเรียนบ้านมดตะนอยของ สสวท. และ สถานทูตอเมริกาประจำ�ประเทศไทย (ที่มา: โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทบาลัยตรัง) ภาพ 6-2 การติดตามการทำ�งานวิจัยโรงเรียน บรรพตวิทยาของ สสวท. สถานทูตอเมริกาประจำ� ประเทศไทย และสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 (ที่มา: สพป ชร. และ สสวท.) ภาพ 6-3 กิจกรรม GLOBE ในโรงเรียนทั้ง 4 แห่ง The GLOBE Program. Scientific Inquiry and Research - in the Science Classroom. Retrieved 23 February, 2023. from https://www.globe.gov/documents/ 355050/14396119/ScientificInquiry.pdf/4015e624-aef3-4fc1-8471-842305855fba ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ACTIVE LEARNING . สืบค้นเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2566. จาก https://lic.chula.ac.th/images/Active%20Learning/ Active%20Learning_01.pdf. บรรณานุกรม of the Habitat with the Various of the Sward Crab)” และการส่งเสริม การเรียนรู้ GLOBE เพื่อเสริมส่งเสริมอาชีพประมงและท่องเที่ยว ประเทศไทยได้รับความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานในพื้นที่และชุมชน และ โรงเรียนต่างๆ ได้ส่งผลงานเข้าร่วมการประกวด GLOBE Science Research Competition (SRC) 2023 และ 2023 GLOBE International Virtual Science Symposium (IVSS)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5