นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 241
36 นิตยสาร สสวท. หรือโมเลกุล) หรือปรากฏการณ์นั้นใหญ่มาก (เช่น ระบบสุริยะ) หรือ ปรากฏการณ์นั้นต้องใช้เวลาในการศึกษายาวนาน (เช่น วิวัฒนาการ) ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่จะนำ�มาใช้เป็นหลักฐานในการอธิบายทาง วิทยาศาสตร์จะต้องเหมาะสมและเพียงพอที่จะสนับสนุนคำ�กล่าวอ้างหรือ ข้อสรุป ภาพ 1 การเก็บรวบรวมข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ตาราง 1 คำ�อธิบายองค์ประกอบในแต่ละระดับของการอธิบายทางวิทยาศาสตร์ การให้เหตุผล (Reasoning) หมายถึง การใช้แนวคิดหรือ หลักการทางวิทยาศาสตร์มาประกอบการพิจารณาตัดสินว่าเพราะเหตุใด หลักฐานจึงสนับสนุนคำ�กล่าวอ้างหรือข้อสรุปเพื่อแสดงความเชื่อมโยง ระหว่างหลักฐานกับคำ�กล่าวอ้างหรือข้อสรุป ระดับของการอธิบายทางวิทยาศาสตร์เมื่อเรียงจากง่าย (ไม่ซับซ้อน) ไปยาก (ซับซ้อน) แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังรายละเอียดในตาราง 1 (McNeill & Krajicik, 2012) ระดับของการอธิบาย ทางวิทยาศาสตร์ 1. คำ�กล่าวอ้างหรือข้อสรุป 2. หลักฐาน 3. การให้เหตุผล 1. คำ�กล่าวอ้างหรือข้อสรุป 2. หลักฐาน • เหมาะสม • เพียงพอ 1 2 ข้อความซึ่งเป็นคำ�ตอบของคำ�ถามหรือปัญหา ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการสนับสนุนคำ�กล่าวอ้าง หรือข้อสรุป การใช้แนวคิดหรือหลักการทางวิทยาศาสตร์มาประกอบ การพิจารณาตัดสินว่าเพราะเหตุใดหลักฐานจึงสนับสนุน คำ�กล่าวอ้างหรือข้อสรุป ข้อความซึ่งเป็นคำ�ตอบของคำ�ถามหรือปัญหา ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการสนับสนุนคำ�กล่าวอ้าง หรือข้อสรุป • ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ต้องเหมาะสมในการสนับสนุน คำ�กล่าวอ้างหรือข้อสรุป • ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ต้องเพียงพอในการสนับสนุน คำ�กล่าวอ้างหรือข้อสรุป องค์ประกอบ คำ�อธิบาย
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5