นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 241

40 นิตยสาร สสวท. 1) รูบริคแบบองค์รวม (Holistic Rubric) เป็นรูบริคที่ใช้ ประเมินคุณภาพในลักษณะของภาพรวมผลงานหรือการปฏิบัติงาน เหมาะกับ การปฏิบัติที่ต้องการให้ผู้เรียนสร้างสรรค์ผลงาน เป็นคำ�ถามปลายเปิด และ ไม่มีคำ�ตอบที่ตายตัว (Mertler, 2001) ซึ่งการรวมผลการประเมินจะเน้นที่ การรวมคะแนนในองค์รวม การประเมินด้วยรูบริคแบบองค์รวมจะสะดวก ต่อการให้คะแนนและประมวลผลคะแนนสรุปได้เร็วกว่าการใช้รูบริคแบบ แยกองค์ประกอบ (Nitko, 1996) อย่างไรก็ตาม รูบริคแบบองค์รวมจะทำ�ให้ ผู้เรียนทราบผลสะท้อนในรายละเอียดแต่ละประเด็นน้อย ระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน 3 2 1 1. ชื่อเรื่อง 2. เนื้อหา 3. การลำ�ดับใจความ 4. หลักเกณฑ์ ทางภาษา คำ�อธิบาย ระดับการประเมิน เขียนบทนำ�และบทสรุปได้ดี ทำ�ให้งานเขียนมีใจความสัมพันธ์กัน หัวข้อเรื่องมีรายละเอียด สนับสนุนอย่างชัดเจน การผูกเรื่องเป็นลำ�ดับขั้นตอน รูปประโยคถูกต้อง ไม่มีการสะกดคำ�ผิด สำ�นวนภาษาสละสลวย มีบทนำ�และบทสรุปเนื้อหาสอดคล้องกับหัวเรื่อง มีรายละเอียดสนับสนุนน้อย เนื้อหา บางส่วนไม่ชัดเจน การผูกเรื่องเป็นลำ�ดับ รูปประโยคถูกต้อง มีสะกดคำ�ผิดอยู่บ้าง สำ�นวนภาษาสละสลวยบางแห่ง ไม่มีบทนำ�และ/หรือบทสรุป เนื้อหาอ้อมค้อม ไม่ตรงประเด็น มีรายละเอียดสนับสนุนน้อย และไม่สมเหตุสมผล เขียนสะกดคำ�ผิดมาก น่าสนใจ ทันสมัย เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง ข้อมูลถูกต้องสมบูรณ์ ตรงประเด็น มีรายละเอียด ใจความชัดเจน ลำ�ดับเหตุการณ์ สมเหตุสมผล เขียนประโยคได้ สมบูรณ์ถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์ ทางภาษา สื่อความได้ชัดเจน น่าสนใจ สอดคล้อง กับเนื้อหา แต่ไม่ทันสมัย ข้อมูลถูกต้อง ตรงประเด็น แต่ขาดรายละเอียด ใจความสับสนบ้าง แต่ยังสามารถเข้าใจได้ ขาดความสมเหตุ สมผลบ้าง เขียนประโยคได้ สมบูรณ์ ถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์ ทางภาษา สื่อความได้บ้าง ทั่วไปไม่น่าสนใจ ไม่สอดคล้องกับเนื้อหา ข้อมูลผิดบ้าง และ ยังไม่สมบูรณ์ ใจความไม่ชัดเจน ขาดความสมเหตุสมผล เขียนประโยค ได้สมบูรณ์บ้าง ไม่สมบูรณ์บ้าง ผิดหลักเกณฑ์ ทางภาษาอย่างมาก สื่อความไม่ชัดเจน ไม่เกี่ยวข้องกับ สาระที่เรียน ข้อมูลส่วนใหญ่ ไม่ถูกต้อง และขาดหาย ไม่ต่อเนื่อง ขาด ความสมเหตุสมผล เขียนประโยค ไม่สมบูรณ์ ผิดหลักเกณฑ์ ทางภาษาอย่างมาก สื่อความไม่ได้ 2) รูบริคแบบแยกองค์ประกอบ (Analytic Rubric) เป็น รูบริคที่ใช้ประเมินคุณภาพในลักษณะที่ต้องการมุ่งเน้นลักษณะเฉพาะ ของคำ�ตอบ (Nitko, 1996) หรือใช้สำ�หรับประเมินประเภทคำ�ตอบที่ อาจเป็นไปได้ 1 หรือ 2 รูปแบบ โดยที่ไม่ได้ให้ความสำ�คัญกับความคิด สร้างสรรค์ของคำ�ตอบ ผลการประเมินจะมีคะแนนหลายส่วนก่อนที่จะนำ�ไป ที่มา: กมลวรรณ ตังธนกานนท์ (2564) การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง: แนวทางที่สอดคล้องกับรูปแบบการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ ที่มา: กมลวรรณ ตังธนกานนท์ (2564) การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง: แนวทางที่สอดคล้องกับรูปแบบการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ ตัวอย่างรูบริคแบบองค์รวม การเขียนเรียงความ ตัวอย่างรูบริคแบบแยกองค์ประกอบ การเขียนเรียงความ รวมเป็นคะแนนผลรวมของแต่ละรายการตรวจสอบ ซึ่งการใช้รูบริคแยก องค์ประกอบจะเป็นการประเมินหลายมิติ (Mertler, 2001) อย่างไรก็ตาม การใช้รูบริคแบบแยกองค์ประกอบอาจทำ�ให้กระบวนการให้คะแนนต้องใช้ เวลามากกว่าปกติ เพราะเป็นการประเมินหลายลักษณะ รวมถึงการประเมิน เป็นรายบุคคล การสร้างและการใช้รูบริคแบบแยกองค์ประกอบจึงใช้เวลามาก 4 3 2 1

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5