นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 241
ปีที่ 51 ฉบับที่ 241 มีนาคม - เมษายน 2566 47 ภาพ 5 การวางโทเคนแสดงเจ้าของสิทธิบัตรการประดิษฐ์ (Invention Patent) และ เจ้าของสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Design Patent) ภาพ 6 ตัวอย่างการวางโทเคนหัวกะโหลกของผู้เล่นสีฟ้า ซึ่งต้องหยุดเล่น 1 รอบ 2. เตรียมการ์ดทรัพยากร (ภาพ 3ค) สำ�หรับการสร้างนวัตกรรม แต่ละชั้น โดยกองแยกกันไว้เป็นกองกลาง 3 กอง และการ์ดทรัพยากรที่ ผู้เล่นไม่ต้องการจะรวมไว้เป็นกองทิ้ง 1 กอง 3. ผู้เล่นแต่ละคนสามารถเลือกเล่นได้คนละ 1 อย่าง (Action) ต่อ 1 รอบ เช่น การสร้างนวัตกรรม การตรวจสอบสิทธิบัตร การเช่า สิทธิบัตร การนำ�โทเคนหัวกะโหลกออก และในการสร้างนวัตกรรมนั้น ผู้เล่น สามารถเลือกเล่นได้ 1 อย่าง เช่น การซื้อการ์ดทรัพยากรจากกองกลาง การซื้อการ์ดทรัพยากรจากกองทิ้ง การเช่าสิทธิบัตรของคนอื่นเพื่อต่อยอด นวัตกรรม 4. ผู้เล่นสามารถเลือกซื้อการ์ดทรัพยากรในชั้นใดก็ได้ แต่การ ต่อยอดเป็นนวัตกรรมชั้นที่ 2 และชั้นที่ 3 จะต้องมีคนสร้างนวัตกรรมชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 มาก่อนตามลำ�ดับ และต้องเป็นนวัตกรรมในกลุ่มเดียวกัน ยกเว้นโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ จะมีนวัตกรรมชั้นที่ 3 ร่วมกันคือ โทรศัพท์อัจฉริยะ 5. คนที่สามารถรวบรวมการ์ดทรัพยากรชนิดใดชนิดหนึ่งได้ครบ เป็นคนแรก จะได้รับสิทธิ์ตรวจสอบสิทธิบัตรการประดิษฐ์ของนวัตกรรม ชนิดนั้น หากผ่านการตรวจสอบจะได้ครอบครองสิทธิบัตรการประดิษฐ์ และ วางสัญลักษณ์เป็นโทเคนลูกบาศก์ (ภาพ 5) หากไม่ผ่านจะได้รับโทเคน หัวกะโหลก คือต้องหยุดเล่น 1 รอบ (ภาพ 6) การออกแบบผลิตภัณฑ์ และวางสัญลักษณ์เป็นโทเคนเหรียญ (ภาพ 5) หากไม่ผ่านจะได้รับการ์ดหัวกะโหลก คือต้องหยุดเล่น 1 รอบ (ภาพ 6) 7. ผู้เล่นที่ได้รับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และ/หรือ สิทธิบัตรการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ซึ่งอาจไม่ใช่คนเดียวกันก็ได้จะได้รับผลประโยชน์เป็นเงินและ คะแนน (ภาพ 3ข) ผู้เล่นสามารถให้เช่าได้เฉพาะสิทธิบัตรการประดิษฐ์ แก่คนที่ต้องการต่อยอดนวัตกรรมในชั้นต่อไป โดยผู้เช่าสิทธิบัตรต้องจ่ายเงิน ให้เจ้าของสิทธิบัตร (ภาพ 3ข) ผู้เล่นจะได้รับคะแนนเพิ่มหากสร้างนวัตกรรม ได้ตรงกับกระแสสังคม (Trend) ในขณะนั้น โดย Trend จะเปลี่ยนทุกๆ รอบที่ 5, 10, 15, 20…จนกว่าจะจบเกม 8. เกมใกล้จบเมื่อมีคนใดคนหนึ่งได้รับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ของ นวัตกรรมชั้นที่ 3 (ไม่มีสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์) จากนั้นให้เล่นต่อ จนจบคนสุดท้ายในรอบนั้นจึงจบเกม แล้วนับเงิน นับคะแนนของแต่ละคน โดยเงิน 5 บาท จะเปลี่ยนเป็น 1 คะแนน คนที่มีคะแนนมากที่สุดจะเป็น ผู้ชนะ หมายเหตุ ในขณะเล่นเกม ผู้เล่นแต่ละคนสามารถมีการ์ด ทรัพยากรบนมือได้ไม่เกินคนละ 5 ใบ หากมีการ์ดเกิน ต้องทิ้งการ์ดที่กองทิ้ง ผังสรุปวิธีการเล่นบอร์ดเกมทรัพย์สินทางปัญญาแสดงในภาพ 7 ภาพ 7 ผังสรุปวิธีการเล่นบอร์ดเกมทรัพย์สินทางปัญญา 6. คนที่สามารถรวบรวมการ์ดทรัพยากรชนิดใดชนิดหนึ่งได้ครบ เป็นคนที่สองจะได้รับสิทธิ์ตรวจสอบสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ ของนวัตกรรมชนิดนั้น หากผ่านการตรวจสอบจะได้ครอบครองสิทธิบัตร มีผู%เล(นได%รับสิทธิบัตร การประดิษฐ;ของนวัตกรรมชั้นที่ 3 ไม$ใช$ ใช$ หาผู+เล$นที่ได+คะแนนมากที่สุด สิ้นสุด ผู%เล(นผ(านการตรวจสอบเงื่อนไข ของสิทธิบัตร (การประดิษฐ; หรือ การออกแบบผลิตภัณฑ;) ผู+เล$นได+ครอบครองสิทธิบัตร ได+คะแนน และ ได+เงินจากสิทธิบัตร (ได+ค$าเช$าจากคนอื่น ถ+ามี) ผู+เล$นหยุดเล$น 1 รอบ ไม$ใช$ ใช$ ผู+เล$นซื้อการJดทรัพยากร หรือเช$าสิทธิบัตรของคนอื่นเพื่อสร+างนวัตกรรมชั้นที่ 1, 2 และชั้นที่ 3 หาผู+ชนะ โดยผู+เล$นที่ได+คะแนนมากที่สุดเปSนผู+ชนะ เริ่มต+น คิดคะแนนของผู+เล$นแต$ละคน โดยนับเงินและเปลี่ยนเงินจำนวน 5 บาท เปSน 1 คะแนน ผู#เล&นคนสุดท#าย ของรอบนั้นเล&นจบ ใช$ ไม$ใช$
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5