นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 242

50 นิตยสาร สสวท. Steadman, R.G. (1979). The Assessment of Sultriness. Part I: a temperature-humidity index based on human physiology and clothing science. J. Appl. Meteor., 18 : 861-873. กรมอุตุนิยมวิทยา. (2566). คาดหมายค่าดัชนีความร้อนสูงสุดรายวัน ในวันที่ 21 - 23 เมษายน 2566. สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2566, จาก http://www.rnd.tmd.go.th/heatindexanalysis/. กรมอุตุนิยมวิทยา. (2566). พยากรณ์ค่าดัชนีความร้อน (Heat Index Analysis). กลุ่มวิจัยและพัฒนาสารสนเทศอุตุนิยมวิทยา. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2566, จาก http://www.rnd.tmd.go.th/heatindexanalysis/. ปรเมศร์ อมาตยกุล. (2549). เอกสารวิชาการ การประมาณค่าดรรชนีความร้อนโดยวิธีของ Steadman . เอกสารวิชาการเลขที่ 551.511-33-01-2006, ISBN: 974-9616-30-8, กลุ่มวิชาการอุตุนิยมวิทยาเกษตร สํานักพัฒนาอุตุนิยมวิทยา. สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2566, จาก http://www.arcims.tmd.go.th/Research_files/Estimating%20Heat% 20Index%20Value%20Using%20Steadmans%20Method.pdf. พร้อมพรรณ พฤกษากร, พญ. (2564). โรคลมแดด (Heat Stroke) โรคใหม่ที่คุณควรรู้ไว้. สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.bangkokhospital-chiangmai.com/ สาระสุขภาพและกิจกรรม/โรคลมแดด-heat-stroke/. โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. (2560). รู้ทันป้องกันภาวะลมแดด (Heat Stroke) . ฝ่ายเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.wu.ac.th/th/news/11224. ศูนย์พัฒนาการสื่อสารด้านภัยพิบัติ. (2565). รู้หรือไม่… ยิ่งอากาศชื้น ยิ่งทำ�ให้ร้อน. สืบค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2565, จาก https://dxc.thaipbs.or.th/news_update/รู้หรือไม่-ยิ่งอากาศ-ชื้/. แสงจันทร์ ลิ้มจิรกาล อัศมน ลิ่มสกุล และทวีวงศ์ ศรีบุรี. (2553). การประเมินสภาวะความรุนแรงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย: การวิเคราะห์ความเสี่ยงและความล่อแหลม ของพื้นที่วิกฤติ . รายงานฉบับสมบรูณ์ของสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). กรุงเทพมหานคร. อัศมน ลิ่มสกุล วุฒิชัย แพงแก้ว และ นิดาลักษณ์ อรุณจันทร์. (2560). รายงานผลงานวิจัยศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม ปี 2558-2560: การพัฒนาดัชนีความร้อนและ การประยุกต์ใช้ศึกษาคลื่นความร้อนในประเทศไทย . ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.researchgate.net/profile/Atsamon-Limsakul/publication/337018839_Heat_index_development_and_its_application_for_heat_wave_study_in_ Thailand_karphathnaddachnikhwamr_xnlaeakarprayuktchisuksakhlunkhwamrxnniprathesthiy/links/5dc0cbf6a6fdcc2128047c15/Heat-index-development-and- its-application-for-heat-wave-study-in-Thailand-karphathnaddachnikhwamr-xnlaeakarprayuktchisuksakhlunkhwamrxnniprathesthiy.pdf. บรรณานุกรม ภาพ 7 วิธีการป้องกันและดูแลตนเองให้ห่างไกลจากโรคลมร้อน เราทุกคนต้องเผชิญกับสภาวะอากาศที่ร้อนมากเช่นนี้กันอีกในปี ต่อๆ ไป เราต้องรู้จักเรียนรู้ ดูแลตัวเอง และปรับตัวให้อยู่ได้อย่างปลอดภัย เช่น อย่าอยู่กลางแจ้งนานเกินไป ควรใช้ร่มช่วยบังแดด ดื่มน้ำ�ให้มาก รวมทั้งเครื่องดื่มเย็นๆ หรืออาหารที่มีน้ำ�มาก อาบน้ำ�เย็น หรือถ้าอยู่ใน ที่พักอาศัยควรเปิดประตูและหน้าต่าง เปิดพัดลม เพื่อให้อากาศถ่ายเท ไม่เกิดความร้อนสะสม ติดตามการพยากรณ์ค่าดัชนีความร้อน ร่วมกันดูแล คนรอบข้างให้อยู่ในสภาพอากาศร้อนที่ตระหนักรู้เกี่ยวกับฮีทสโตรก เพียงเท่านี้เราก็จะอยู่ได้อย่างมีความสุข

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5