นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 244
10 นิตยสาร สสวท. ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 2.2 ประยุกต์ใช้ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ 2.3 ความมุ่งมั่นแก้ปัญหาและ ความสำ�เร็จของชิ้นงาน 2.4 การประเมินชิ้นงาน ไม่สามารถระบุเนื้อหาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการ แก้ปัญหาได้ หลักฐาน • อธิบายการเลือกวิธีการขยายพันธุ์ และวิธีการดูแลผักสวนครัวจากการ นำ�เสนอภาพร่างสวนผักสุขภาพดี ไม่ได้ ไม่มีความมุ่งมั่นในการทำ�งานและ ไม่สามารถแก้ปัญหาตามเงื่อนไขใน สถานการณ์ได้ หลักฐาน • ทำ�งานยังไม่เต็มความสามารถหรือ ล้มเลิกการทำ�งานเมื่อพบอุปสรรค • สร้างและดูแลสวนผักสุขภาพดีแต่ ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขและเป้าหมาย สามารถประเมินชิ้นงานแต่ใช้วิธีการ ที่ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขของ สถานการณ์และเป้าหมายที่ตั้งไว้ หลักฐาน • มีการบันทึกความก้าวหน้าของ สวนผักสุขภาพดี • ประเมินประสิทธิผลของสวนผัก สุขภาพดีแต่ผลที่ได้จากการสร้างสวนผัก สุขภาพดียังไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข ของสถานการณ์และเป้าหมายที่ตั้งไว้ มีความเข้าใจในความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาแต่ยัง เข้าใจไม่ลึกซึ้ง หลักฐาน • อธิบายการเลือกวิธีการขยายพันธุ์ และวิธีการดูแลผักสวนครัวจากการ นำ�เสนอภาพร่างสวนผักสุขภาพดี ได้ถูกต้องบางประเด็น เริ่มมีความมุ่งมั่นและสามารถแก้ปัญหา ตามเงื่อนไขที่กำ�หนดในสถานการณ์ได้ แต่ยังไม่ครบถ้วน หลักฐาน • ทำ�งานเต็มความสามารถหรืออดทน ในการแก้ปัญหาเมื่อพบอุปสรรค • สร้างและดูแลสวนผักสุขภาพดีเป็นไป ตามเงื่อนไขและเป้าหมายได้บางอย่าง สามารถประเมินชิ้นงานให้สอดคล้อง กับเงื่ อนไขของสถานการณ์และ เป้าหมายที่ตั้งไว้ แต่ไม่สามารถใช้ ข้อมูลจากการประเมินเพื่อปรับปรุง ชิ้นงานได้ หลักฐาน • มีการบันทึกความก้าวหน้าของ สวนผักสุขภาพดี • มีการประเมินประสิทธิผลของ สวนผักสุขภาพดีโดยบอกรายละเอียด ของผลที่ได้ซึ่งสอดคล้องกับเงื่อนไข ของสถานการณ์และเป้าหมายที่ ตั้งไว้ รวมถึงปัญหาที่พบจากการสร้าง และการดูแลสวนผักสุขภาพดี แต่ยัง ไม่สามารถบอกแนวทางการปรับปรุง สวนผักสุขภาพดีได้ มีความเข้าใจในความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดีและสามารถ ประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาได้ อย่างเหมาะสม หลักฐาน • อธิบายการเลือกวิธีการขยายพันธุ์ และวิธีการดูแลผักสวนครัวจากการ นำ�เสนอภาพร่างสวนผักสุขภาพดี ได้อย่างถูกต้องครบทุกประเด็น มีความเข้าใจในความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้งและรอบด้านและ สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ที่หลากหลาย ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม หลักฐาน • เปรียบเทียบวิธีการขยายพันธุ์ อธิบายวิธีการขยายพันธุ์ที่เลือก ขั้นตอนการปลูก และวิธีการดูแล ผักสวนครัวจากการนำ�เสนอภาพร่าง สวนผักสุขภาพดีได้อย่างถูกต้อง ครบทุกประเด็นและมีการอธิบายและ เชื่อมโยงอย่างเป็นเหตุเป็นผลถึง ความรู้ทางวิทยาศาสตร์อื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง เช่น การเกิดผลและเมล็ด ปัจจัยที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช มีความมุ่งมั่นพยายามและสามารถ แก้ปัญหาตามเงื่อนไขที่กำ�หนดใน สถานการณ์ได้อย่างครบถ้วน หลักฐาน • ทำ�งานเต็มความสามารถและอดทนใน การแก้ปัญหาเมื่อพบอุปสรรค สร้างและดูแลสวนผักสุขภาพดีเป็นไป ตามเงื่อนไขและเป้าหมายได้ครบตาม กำ�หนดเวลา สามารถประเมินชิ้นงานให้สอดคล้อง กับ เ งื่อน ไข ข อ ง ส ถ า นก า รณ์แ ล ะ เป้าหมายที่ตั้งไว้ และสามารถใช้ข้อมูล จากการประเมินเพื่อปรับปรุงชิ้นงาน อย่างสมเหตุสมผล หลักฐาน • มีการบันทึกความก้าวหน้าของการ สร้างสวนผักสุขภาพดี • มีการประเมินสวนผักสุขภาพดี โดยบอกรายละเอียดของผลที่ได้ซึ่ง สอดคล้องกับเงื่อนไขของสถานการณ์ และเป้าหมายที่ตั้งไว้ ปัญหาที่พบจาก การสร้างและการดูแลสวนผักสุขภาพดี ตลอดจนแนวทางการปรับปรุงสวนผัก สุขภาพดี มีความมุ่งมั่นพยายามและสามารถ แก้ปัญหาตามเงื่อนไขที่กำ�หนดใน สถานการณ์ได้อย่างครบถ้วนรวมถึง แก้ปัญหาตามเงื่อนไขและบริบทอื่นๆ เพิ่มเติม หลักฐาน • ทำ�งานเต็มความสามารถและอดทนใน การแก้ปัญหาเมื่อพบอุปสรรค • สร้างและดูแลสวนผักสุขภาพดีเป็นไป ตามเงื่อนไขและเป้าหมายได้ครบตาม กำ�หนดเวลา รวมทั้งสามารถแก้ปัญหา หรือตอบสนองต่อความต้องการอื่นๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการสร้างและการดูแล สวนผักสุขภาพดีได้ สามารถประเมินชิ้นงานให้สอดคล้อง กับเงื่อนไขของสถานการณ์และ เป้าหมายที่ตั้งไว้ และสามารถใช้ข้อมูล จากการประเมินเพื่อปรับปรุงชิ้นงาน อย่างสมเหตุสมผลและประยุกต์ใช้ ความรู้อื่นๆ เพื่อปรับปรุงชิ้นงานให้ดีขึ้น หลักฐาน • มีการบันทึกความก้าวหน้าของการ สร้างสวนผักสุขภาพดี • มีการประเมินสวนผักสุขภาพดี โดยบอกรายละเอียดของผลที่ได้ซึ่ง สอดคล้องกับเงื่อนไขของสถานการณ์ และเป้าหมายที่ตั้งไว้ ปัญหาที่พบจาก การสร้างและการดูแลสวนผักสุขภาพดี ตลอดจนแนวทางการปรับปรุงสวนผัก สุขภาพดีโดยประยุกต์ใช้ความรู้อื่นๆ เพื่อปรับปรุงสวนผักสุขภาพดีให้ดีขึ้น เช่น การใช้ปุ๋ยที่หมักได้จากเศษอาหาร การป้องกันและกำ�จัดแมลงศัตรูพืช โดยใช้สารธรรมชาติ ไม่มีหลักฐาน/เริ่มต้น กำ�ลังพัฒนา สามารถ เหนือความคาดหวัง ตัวอย่างเกณฑ์การประเมิน (ต่อ) ข้อเสนอแนะสำ�หรับการปรับเปลี่ยนวิธีการดำ�เนินกิจกรรมให้เหมาะสมตามบริบทของผู้เรียน - หากผู้สอนจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 หน่วย 4 การดำ�รงชีวิตของพืช ของ สสวท. ผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมนี้ควบคู่กับการสอนเนื้อหาที่เกี่ยวข้องหรือแทนกิจกรรมที่คล้ายกันได้
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5