นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 244

30 นิตยสาร สสวท. ภาพ 3 แสดงแบบจำ�ลองทางความคิดอธิบายปรากฏการณ์การเคลื่อนที่ของวัตถุติดสปริงโดยผู้เรียนคนหนึ่ง (ก่อนศึกษาสถานการณ์จำ�ลอง) (ในที่นี้คือ 10 เซนติเมตร) แต่ยังไม่ได้แสดงว่ามีแรงอะไรที่มากระทำ�กับวัตถุ 2. ผู้เรียนประเมินแบบจำ�ลอง ข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ที่รวบรวมได้ เพื่อให้สามารถอธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุติดสปริงที่มี การเคลื่อนที่กลับไปกลับมาได้ดียิ่งขึ้น ครูให้ผู้เรียนศึกษาสถานการณ์ จำ�ลองโดยใช้โปรแกรม Tracker เพื่อวัดตำ�แหน่ง (การกระจัด) ความเร็ว และความเร่งของวัตถุในตำ�แหน่ง A B C D และ E (บันทึกผลใน ตาราง) รวมทั้งศึกษาความสัมพันธ์ของตำ�แหน่ง (การกระจัด) ความเร็ว ของวัตถุ และความเร่งของวัตถุ เมื่อเวลาผ่านไป ดังภาพ 4 ครูและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปของผลการศึกษา สถานการณ์จำ�ลองด้วยโปรแกรม Trakcer ว่า ขณะที่วัตถุเคลื่อนที่ไปอยู่ ตำ�แหน่งต่างๆ วัตถุจะมีความเร็วและความเร่งไม่คงที่ โดยจะเปลี่ยนแปลง ภาพ 4 หน้าจอโปรแกรม tracker และผลการทดลองแสดงค่าที่ได้จากการวัดตำ�แหน่ง (การกระจัด) ความเร็ว และความเร่งของวัตถุ ในตำ�แหน่งต่างๆ และเมื่อเวลาผ่านไป โดยใช้โปรแกรม tracker

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5