นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 244

32 นิตยสาร สสวท. บทสรุป การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำ�ลองเป็นฐานในวิชา ฟิสิกส์เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิด และปฏิบัติเหมือนนักฟิสิกส์ในการสร้างแบบจำ�ลองเพื่ออธิบาย ปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ ซึ่งการที่ผู้เรียนได้ปฏิบัติแบบเดียวกับ นักฟิสิกส์นั้นจะสะท้อนถึงสมรรถนะในการสร้างแบบจำ�ลองหรือ ความสามารถในการสร้างแบบจำ�ลอง โดยใช้ข้อมูลและหลักฐาน เชิงประจักษ์มาสนับสนุนแบบจำ�ลอง จนสามารถสรุปออกมา เป็นองค์ความรู้ทางฟิสิกส์ อีกทั้งการจัดการเรียนรู้โดยใช้ แบบจำ�ลองเป็นฐานยังช่วยแก้ปัญหาความยากของวิชาฟิสิกส์ ที่มีความเป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรมได้จากลักษณะสำ�คัญและ ตัวอย่างของการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว ผู้สอนวิชาฟิสิกส์ สามารถนำ�ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ในเนื้อหาอื่นๆ Braden, S. & Barth-Cohen, L. & Gailey, S. & Young, T. (2021). Modeling Magnetism With the Floating Paper Clip. Science Scope, 44 (6): 84-92. Gobert, J. D. & Buckley, B. C. (2000). Introduction to model-based teaching and learning in science education. International Journal of Science Education, 22 (9): 891-894. Gogolin, S. & Krüger, D. (2018). Students’ understanding of the nature and purpose of models. Journal of Research in Science Teaching, 55 (9): 1313-1338. Hart, C. (2008). Models in physics, models for physics learning, and why the distinction may matter in the case of electric circuits. Research in Science Education, 38 : 529-544. Khan, S. (2011). What’s missing in model-based teaching. Journal of Science Teacher Education, 22 : 535-560. Krell, M. & Reinisch, B. & Krüger, D. (2015). Analyzing students’ understanding of models and modeling referring to the disciplines biology, chemistry, and physics. Research in Science Education, 45 : 367-393. NGSS Lead States. (2013). Next Generation Science Standards: For states, by states. Washington: The National Academies Press. OECD. (2023). PISA 2025 Science Framework. Position paper. Retrieved July 14, 2023, from https://pisa-framework.oecd.org/science-2025/assets/docs/ PISA_2025_Science_Framework.pdf. ธีรพงษ์ แสงประดิษฐ์. (2558). แนวคิดทางเลือกของนักเรียนในวิชาฟิสิกส์ . วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 17(4): 202-209. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำ� . ฟิสิกส์ ม.5 เล่ม 4 บทที่ 14. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.youtube.com/watch?v=ZedM7q905Dk. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). ฟังก์ชันงานและพลังงานจลน์สูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอน. ฟิสิกส์ ม 6 เล่ม 6 บทที่ 19. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.youtube.com/watch?v=twPzrtPL5X0. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). (21 เมษายน 2564). หลอดไฟฟ้าต่อกันอย่างไร. วิทย์ป.6 เล่ม 2 หน่วย 6 บท 2. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.youtube.com/watch?v=RZavPjqXA90&t=224s. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). (2566). คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ เล่ม 1 . (พิมพ์ครั้งที่ 2). สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.scimath.org/ebook-physics/item/8297-4-1. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). (2566). คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ เล่ม 2 . (พิมพ์ครั้งที่ 2). สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.scimath.org/ebook-physics/item/8298-4-2. บรรณานุกรม ภาพ 6 แสดงแบบจำ�ลองและตารางสรุปความสัมพันธ์การเคลื่อนที่ของวัตถุติดสปริง

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5