นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 245
10 นิตยสาร สสวท. ความสำ �เร็จที่ตั้งไว้เพื่อให้ทราบว่าช่องว่างระหว่างสถานะการเรียนรู้ที่นักเรียน เป็นอยู่ในปัจจุบันกับสถานะการเรียนรู้ที่นักเรียนและครูต้องการปิดลง หรือไม่ ถ้าช่องว่างปิด ไม่ ได้ กระบวนการประเมินจะวนซ้ำ � โดยครู จะต้องกลับไประบุช่องว่างใหม่ ให้ข้อมูลย้อนกลับ ปรับตัวและตอบสนอง ความต้องการในการเรียนรู้ แล้วเสริมต่อการเรียนรู้ไปจนกว่าช่องว่างจะ ปิดได้ ถ้าช่องว่างปิดลงได้ กล่าวคือ นักเรียนเกิดการเรียนรู้ในบทเรียน และสามารถทำ �ในสิ่งที่ต้องการเพื่อแสดงถึงการบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ ที่กำ �หนดไว้ได้ เมื่อครูกำ �หนดเป้าหมายการเรียนรู้ใหม่จะทำ �ให้ช่องว่างของ นักเรียนเปิดและกระบวนการการประเมินเพื่อพัฒนาก็จะวนซ้ำ �เพื่อ ปิดช่องว่างอีกครั้ง จากข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาที่กล่าวข้างต้น การประเมิน เพื่อพัฒนาเป็นกระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนให้ เกิดความก้าวหน้าและบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ที่คาดหวังหรือปิดช่องว่าง ของนักเรียนและการสอนของครูไปพร้อมกัน ซึ่งมีหลายขั้นตอนและต้อง ดำ �เนินการอย่างต่อเนื่องตลอดกระบวนการเรียนรู้ การจะทำ �ให้การประเมิน เพื่อพัฒนาเกิดประสิทธิภาพได้นั้น สิ่งสำ �คัญคือ ครูควรแยกการประเมิน เพื่อพัฒนาออกจากการให้คะแนนและใช้เป็นการประเมินหลักของการสอน ไม่ละเลยที่จะการปรับเปลี่ยนการสอนของตนเองให้สัมพันธ์กับผลการประเมิน ที่ได้รับ โดยจัดประสบการณ์ให้เหมาะสมกับความต้องการในการเรียนรู้ ของนักเรียนในขณะนั้น ให้ข้อมูลย้อนกลับที่ดี มีคุณภาพและประสิทธิภาพ เกี่ยวกับการเรียนรู้ของนักเรียน โดยให้เวลานักเรียนได้ลงมือปรับปรุง แก้ไขตนเองและติดตามการปรับปรุงแก้ไขของนักเรียนทุกครั้ง และควรให้ นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินและกำ �กับติดตามการเรียนรู้ของตนเอง อย่างสม่ำ �เสมอ เพียงเท่านี้การประเมินเพื่อพัฒนาก็จะเป็นกลไกที่ช่วย ให้ครูสามารถขับเคลื่อนการเรียนรู้ของนักเรียนจากตำ �แหน่งที่เป็นอยู่ไปสู่ เป้าหมายการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้ได้ Angelo, T.A. (1991). Ten Easy Pieces: assessing higher learning in four dimensions. New Directions for Teaching and Learning, 46 : 17-31. Bell, B. & Cowie, B. (2001). The Characteristics of Formative Assessment in Science Education. Science Education, 85 : 536–553. doi: 10.1002/sce.1022 Bell, B. & Cowie, B. (2002). Formative Assessment and Science Education . Kluwer Academic Publishers. Black, P. & Wiliam, D. (1998). Inside the Black Box: raising standards through classroom assessment. Phi Delta Kappan, 80 : 139–148. Brown, G.T.L. (2008). Conceptions of Assessment: understanding what assessment means to teachers and students . Nova Science Publishers. Greenstein, L. (2010). What Teachers Really Need to Know about Formative Assessment . ASCD. Hattie, J. & Timperley, H. (2007). The Power of Feedback. Review of Educational Research, 77 (1): 81-112. doi: 10.3102 /003465430298487 Heritage, H. M. (2010). Formative Assessment: making it happen in the classroom . Corwin. MacMillan, J. (2014). Classroom Assessment: principles and practice for effective standards-based instruction. 6 th ed. Pearson Education. Popham, W.J. (2011). Assessment Literacy Overlooked: a teacher educator’s confession. The Teacher Educator, 46 (4): 264-273. doi: 10.1080.08878730.2011.605048 Sadler, D.R. (1989). Formative Assessment and the Design of Instructional System. Instructional Science, 18 (2): 119-144. Shepard, L. A. (2005). Linking Formative Assessment to Scaffolding. Educational Leadership, 63 (3): 66–71. บรรณานุกรม (7) เสริมต่อการเรียนรู้ใหม่ (Scaffold New Learning) เมื่อครูปรับเปลี่ยนการสอนของตนเองให้ตรงกับความต้องการ ในการเรียนรู้ของนักเรียนแล้ว สิ่งที่ครูต้องดำ �เนินการต่อเนื่องคือ การเสริม ต่อการเรียนรู้ของนักเรียน โดยให้การสนับสนุนและช่วยเหลือนักเรียนแต่ละคน ผ่านวิธีสอนที่เหมาะสม และเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความรู้ความสามารถ มากกว่าให้ความช่วยเหลือแก่นักเรียนที่มีความรู้ความสามารถน้อยกว่า ผ่านการทำ �งานร่วมกันหรือมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน รวมทั้งจัดให้มี สภาพแวดล้อมที่ดีที่ส่งผลกระทบโดยตรงและโดยอ้อมต่อการเรียนรู้ ซึ่ง การเสริมต่อการเรียนรู้จะช่วยขยายขอบเขตความรู้ความสามารถของ นักเรียนให้มีระดับที่สูงขึ้น (8) ปิดช่องว่าง (Close the Gap) ในขั้นตอนนี้ครูจะต้องเก็บรวบรวมข้อมูลหรือหลักฐานการเรียนรู้ ตีความหมายข้อมูลหรือหลักฐานการเรียนรู้โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ภาพจาก: https://www.turnitin.com/blog/assessment-strategies-in-the-classroom- raising-the-bar-for-learning
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5