นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 245

ปีที่ 52 ฉบับที่ 245 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2566 23 ภาพ 2 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการปัญหาเอเลียนสปีชีส์ในภาพรวม ภาพ 3 ตัวอย่างภาพแผนที่แสดงการแพร่กระจายของคางคกชนิดต่างๆ ในทวีป อเมริกาใต้ ที่สัมพันธ์กับปริมาณน้ำ �ฝน ซึ่งนักเรียนสามารถนำ �รูปแบบการแสดงผล การสำ �รวจนี้ มาใช้ในการดัดแปลงเพื่อแสดงผลการสำ �รวจการแพร่กระจายของ สิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานในชุมชนได้ (ภาพจาก Simon et al., 2016) หาสิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานจะทำ �ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะต่างๆ มากมาย เช่น 1) ทักษะการค้นหาข้อมูลจากสื่อต่างๆ ที่ผู้เรียนจะต้องทำ �ให้ แล้วเสร็จก่อนการออกสำ �รวจ 2) ทักษะการวางแผน และออกแบบวิธีการ เก็บรวบรวมข้อมูลที่ผู้เรียนจะต้องคิดและวางแผนว่าจะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง ในรูปแบบตัวเลข ภาพ หรือการบรรยายลักษณะ ตำ �แหน่งพิกัดที่พบเอเลียน สปีชีส์ที่ได้จาก GPS ที่มักจะมีอยู่ในโทรศัพท์มือถือและจะนำ �ข้อมูลเหล่านั้น มาใช้ทำ �อะไรได้บ้าง สำ �หรับการวิเคราะห์และนำ �เสนอข้อมูลที่เก็บกลับมา เช่น ตาราง กราฟ หรือ แผนที่เพื่อระบุตำ �แหน่งและการแพร่กระจายของ เอเลียนสปีชีส์ในท้องถิ่น 3) ทักษะการสังเกต และการเก็บข้อมูล เมื่ออยู่ใน พื้นที่สำ �รวจในชุมชน 4) ทักษะการคิดวิเคราะห์ และการแก้ปัญหาที่ สามารถพบเจอได้เมื่อออกเก็บข้อมูลในชุมชน 5) ทักษะการสื่อสาร และ การทำ �งานเป็นทีม สำ �หรับทักษะการสื่อสารนอกจากจะหมายถึงการสื่อสาร ระหว่างสมาชิกภายในกลุ่มแล้ว ยังจะมีความหมายรวมไปถึงทักษะการสื่อสาร กับบุคคลต่างๆ ที่พบเจอในชุมชนด้วย โดยนักเรียนจะได้ฝึกในเรื่องของ การสื่อสารเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล ตัวอย่างผลของการสำ �รวจสิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน ที่นำ �ไปสู่การ สร้างความตระหนักให้กับชุมชน ในประเทศโปรตุเกส เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้ในห้องเรียนเกี่ยวกับ ปัญหาของสิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน และหลังจากนั้นก็ได้ออก สำ �รวจสิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานในชุมชน ทำ �ให้พวกเขาได้ค้นพบ จอกหูหนูยักษ์ (Giant Salvinia ชื่อวิทยาศาสตร์ Salvinia molesta ) จนนำ �ไปสู่การพูดคุยเพื่อหาทางแก้ปัญหาร่วมกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ และ การทำ �ให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและเริ่มต้น ร่วมมือกันแก้ปัญหาอย่างจริงจังเพื่อลดพื้นที่ของการแพร่กระจายและ ป้องกันการแพร่กระจายของจอกหูหนูยักษ์ไม่ให้มีพื้นที่ของการแพร่กระจาย เพิ่มขึ้นไปจากเดิม สาธารณรัฐฟินแลนด์ได้ทำ �ให้เห็นเป็นตัวอย่างว่าการศึกษา เรื่องสิ่งแวดล้อมไม่ได้จำ �กัดอยู่แค่ในโรงเรียนหรือในมหาวิทยาลัยเท่านั้น โดยได้จัดงานนิทรรศการ “The Alien Species Exhibition” ขึ้นที่ พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ฟินแลนด์ (Finnish Museum of Natural History) ในปี ค.ศ. 1999 เพื่อสร้างความตระหนักและการรับรู้เกี่ยวกับปัญหา ของสิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานที่กำ �ลังเกิดขึ้นในขณะนั้น เช่น เพียงพอน อเมริกา (American Mink ชื่อวิทยาศาสตร์ Neovison vison ) ปลาเทราท์บรูค (Brook Trout ชื่อวิทยาศาสตร์ Salvelinus fontinalis ) และพืชที่เป็น สิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานอีกหลายชนิดที่สร้างปัญหาให้กับเมือง เฮลซิงกิ ฟินแลนด์ นอกจากนี้ พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ฟินแลนด์ ยังได้ออกแบบชุดการเรียนการสอนสำ �หรับนักเรียนในระดับชั้นต่างๆ ออกมาใช้กับนักเรียนที่มาเยี่ยมชมงานนิทรรศการด้วย พร้อมๆ กับการจัด สัมมนาในระดับนโยบายสำ �หรับนักวิชาการด้านต่างๆ เพื่อการพัฒนาและ การบริหารจัดการนโยบายที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน บทสรุป สำ �หรับการบริหารจัดการในภาพรวมของประเทศ หากมี นโยบายที่ไม่ชัดเจนและการปฎิบัติตามนโยบายที่ไม่เคร่งคัดจะเป็นสาเหตุ ที่ทำ �ให้เกิดปัญหาการเพิ่มจำ �นวนและการแพร่กระจายของเอเลียนสปีชีส์ ที่ไม่สามารถควบคุมได้ ประกอบกับการขาดความรู้และความตระหนักของ ผู้ค้า ผู้นำ �เข้าสัตว์และพืชต่างถิ่น และเจ้าหน้าที่รัฐ ผลกระทบของสิ่งมีชีวิต ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่สำ �คัญที่ภาครัฐควรเร่งแก้ไข เพื่อป้องกันผลกระทบในด้านต่างๆ ที่จะเกิดตามมาอีกมากมาย Leicht, A. & Heiss, J. & Byun, W. J. (2018). Issues and Trends in Education for Sustainable Development . UNESCO Publishing. Shackleton, R. T., Adriaens, T., Brundu, G., Dehnen-Schmutz, K., Estévez, R. A., Fried, J., ... & Richardson, D. M. (2019). Stakeholder engagement in the study and management of invasive alien species. Journal of environmental management, 229 , 88-101. Simon, M. N., Machado, F. A., & Marroig, G. (2016). High evolutionary constraints limited adaptive responses to past climate changes in toad skulls. Proceedings of the Royal Society B: Biological Sciences, 283 (1841), 20161783. Verbrugge, L. N. and et al. (2021). Novel Tools and Best Practices for Education about Invasive Alien Apecies. Management of Biological Invasions . Invasivesnet. บรรณานุกรม ปัญหาเอเลียน สปีชีส์ นักวิชาการ เช่น นักชีววิทยา เจ้าหน้าที่ป่าไม้ เจ้าหน้าที่ประมง นโยบายจากรัฐบาล เจ้าหน้าที่รัฐที่ เกี่ยวข้องกับ การควบคุมและค้นหา คนในชุมชนต้องหมั่นสังเกตและ สอดส่องดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน เพื่อตรวจหาการรุกรานในชุมชน การกำ �กับดูแลและออกใบอนุญาต นำ �เข้าสัตว์ต่างถิ่น สำ �หรับผู้ค้าสัตว์เลี้ยง

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5