นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 245
ปีที่ 52 ฉบับที่ 245 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2566 29 American Association for the Advancement of Science (AAAS). (1990). Project 2061: Science for all Americans . New York: Oxford University Press. BBC News ไทย. (2561). เครื่องชนอนุภาคแอลเอชซีตรวจพบ “ฮิกส์ โบซอน” เป็นครั้งที่สอง . สืบค้นเมื่อ 17 ตุลาคม 2566. จาก https://www.bbc.com/thai/international-44386550. BBC News ไทย. (2566). นักฟิสิกส์พบอนุภาคแกว่งตัวผิดปกติ บ่งชี้ว่า “แรงที่ 5” มีอยู่จริ ง. สืบค้นเมื่อ 17 ตุลาคม 2566. จาก https://www.bbc.com/thai/articles/c0k4kw5qv4lo. CERN Accelerating Science. (n.d.). Contribute to Society . Retrieved June 13, 2023, from https://home.cern/about/what-we-do/our-impact. CERN Accelerating Science. (n.d.). Fundamental Research. Retrieved June 13, 2023, from https://home.cern/about/what-we-do/fundamental-research. CERN Accelerating Science. (n.d.). Graphics . Retrieved June 13, 2023, from https://cds.cern.ch/collection/Graphics?ln=en. CERN Accelerating Science. (n.d.). The Standard Model . Retrieved June 13, 2023, from https://home.cern/science/physics/standard-model. CERN Accelerating Science.. LHCb tightens precision on key measurements of matter–antimatter asymmetry . Retrieved June 13, 2023, from https://home.cern/news/news/physics/lhcb-tightens-precision-key-measurements-matter-antimatter-asymmetry. CERN Accelerating science. ALICE shines light into the nucleus to probe its structure . Retrieved June 14, 2023, from https://home.cern/news/news/physics/ alice-shines-light-nucleus-probe-its-structure. CERN Accelerating science. ATLAS sets record precision on Higgs boson’s mass . Retrieved June 21, 2023, from https://home.cern/news/news/physics/ atlas-sets-record-precision-higgs-bosons-mass. CERN Accelerating science. Looking for sterile neutrinos in the CMS muon system . Retrieved June 28, 2023, from https://home.cern/news/news/physics/ looking-sterile-neutrinos-cms-muon-system. Signe Brewster. (2016). A primer on particle accelerators . Symmetry Magazine. Retrieved June 13, 2023, from https://www.symmetrymagazine.org/article/ a-primer-on-particle-accelerators?language_content_entity=und. ฐกลวรรธน์ จันทร์วัฒนะ. (2566). Introduction to Particle Accelerator and LHC . โครงการอบรมฟิสิกส์อนุภาคพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร. นรพัทธ์ ศรีมโนภาษ. (2566). เปิดโลกสู่ CERN และการศึกษาฟิสิกส์อนุภาค . โครงการอบรมฟิสิกส์อนุภาคพื้นฐาน, กรุงเทพมหานคร. สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน). (2565). แสงซินโครตรอนสำ �หรับประชาชนทั่วไป . Thai Synchrotron National Lab. สืบค้นเมื่อ 17 ตุลาคม 2566. จาก https://www.slri.or.th/th/what-is-synchrotron-light/forpeople.html#benefit. สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน). (2566). เ ครื่องกำ �เนิดแสงซินโครตรอน 3 GeV กำ �ลังสำ �คัญแห่ง EECi . Thai Synchrotron National Lab. สืบค้นเมื่อ 17 ตุลาคม 2566. จาก https://www.slri.or.th/th/ข่าววิทยาศาสตร์ทั่วไป/เครื่องกำ � เนิดแสงซินโครตรอน-3-gev-กำ �ลังสำ �คัญแห่ง-eeci.html. สถาบัันส่่งเสริิมการสอนวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี. (2562). หนัังสืือเรีียนรายวิิชาพื้นฐานวิิทยาศาสตร์์ มัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่่ม 1 ตามมาตรฐานการเรีียนรู้้และตััวชี้วััด กลุ่่มสาระการเรีียนรู้้วิิทยาศาสตร์์ (ฉบัับปรัับปรุุง 2560) ตามหลัักสููตรแกนกลางการศึึกษาขั้นพื้นฐาน พุุทธศัักราช 2551 . กรุุงเทพมหานคร: โรงพิิมพ์์สกสค. ลาดพร้้าว. สำ �นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2564). เซิร์น สถาบันวิจัยฟิสิกส์อนุภาคพลังงานสูง ภารกิจเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางฟิสิกส์ขั้นพื้นฐานและความเป็นหนึ่งเดียวกัน ของมนุษยชาติ. การประชุมวิชาการประจำ �ปี สวทช. ครั้งที่ 16 . สืบค้นเมื่อ 17 ตุลาคม 2566. จาก https://www.nstda.or.th/nac/2021/2021/03/20/cern-organization/. สุรศักดิ์ พงศ์พันธุ์สุข. (2555). 4 กรกฎาคม 2555 เซิร์นประกาศการค้นพบอนุภาคฮิกส์โบซอ น. กลุ่มวิจัยและพัฒนานิวเคลียร์ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) สืบค้นเมื่อ 17 ตุลาคม 2566. จาก http://nkc.tint.or.th/nkc55/content55/nstkc55-074.html. บรรณานุกรม Corridor of Innovation: EECi) จ.ระยอง ซึ่งจะเปิดดำ �เนินการได้ ในปี พ.ศ. 2573 มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาและวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ด้วยเครื่องมือวิทยาศาสตร์ขั้นสูง รองรับการพัฒนาประเทศในอนาคต (สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน, 2562) จะเห็นได้ว่า ลักษณะและธรรมชาติของนักวิทยาศาสตร์หรือผู้ที่ สนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งจะไม่หยุดการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในธรรมชาติ และไม่ย่อท้อที่จะค้นหาคำ �ตอบที่สงสัย รวมถึงได้ใช้วิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาจนทำ �ให้ค้นพบความรู้ใหม่ๆ มากมาย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทำ �ให้ได้เรียนรู้ว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไม่มี ความคงทน มีการเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีหลักฐานเชิงประจักษ์เพิ่มขึ้น เช่นเดียวกับการค้นพบเกี่ยวกับแบบจำ �ลองอะตอมนี้ ซึ่งสอดคล้องกับ ลักษณะของธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ที่ว่า ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีพื้นฐาน มาจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และสามารถเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีหลักฐานใหม่ ที่ขัดแย้งกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์เดิมและสามารถอธิบายปรากฏการณ์ ได้ดีกว่า และ/หรือมีการตีความหลักฐานเชิงประจักษ์ที่มีอยู่ด้วยมุมมองหรือ ทฤษฎีใหม่ (AAAS, 1990) ด้วยเหตุนี้ผู้เรียนจึงไม่ควรหยุดนิ่งในการเรียนรู้ ความรู้ใหม่ๆ ที่เพิ่มขึ้นหรือเปลี่ยนแปลงได้ และไม่มองข้ามปรากฏการณ์ต่างๆ เช่น ความรู้เรื่องโครงสร้างอะตอมหรือองค์ความรู้ที่ได้จากเครื่องเร่งอนุภาค ที่บางคนอาจมองว่าเป็นเรื่องไกลตัว แต่สามารถนำ �ความรู้มาประยุกต์ใช้ ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ �วันและในอนาคตได้ อย่างมากมาย ภาพจาก: https://sciencing.com/five-types-atomic-models-7911352.html
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5