นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 245

ปีที่ 52 ฉบับที่ 245 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2566 35 ภาพจาก: https://vbhc.nhs.wales/delivering-value/population-survey-2023/ บ ทความนี้กล าวถึงเฉพาะความคลาดเคลื่อนที่ไม ได เกิดจาก การเลือกตัวอย างซึ่งความคลาดเคลื่อนประเภทนี้อาจจะเกิดขึ้น จากความผิดพลาดในขั้นตอนต างๆ ของการสํารวจ แบ งได เป น 3 ขั้นตอนหลัก ได แก การออกแบบและวางแผนการสํารวจ การดําเนินการ เก็บรวบรวมข อมูล และการประมวลผลและการวิเคราะห ข อมูล โดยใน แต ละขั้นตอนจําแนกได เป นขั้นตอนย อยได อีก การระบุความคลาดเคลื่อนในแต ละขั้นตอนดังกล าวจะเป น ประโยชน ในการป องกันมิให เกิดความคลาดเคลื่อนที่ไม ได เกิดจากการเลือก ตัวอย างในทุกขั้นตอนของการสํารวจ โดยเฉพาะขั้นตอนการดําเนินการ เก็บรวบรวมข อมูลซึ่งจําแนกประเภทของความคลาดเคลื่อนได เป น 3 ประเภท ดังนี้ 1. Coverage Errors หมายถึง ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการ ระบุขอบเขตของประชากรที่ไม ครบถ วน 2. Non-response Errors หมายถึง ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจาก การไม ให ข อมูลของผู ให ข อมูลซึ่งรวมถึงการให ข อมูลที่ไม สมบูรณ ด วย 3. Response Errors หมายถึง ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจาก การให ข อมูลของผู ให ข อมูล โดยส วนใหญ แล ว ความคลาดเคลื่อนทั้ง 3 ประเภทนี้เกิดจากการ ออกแบบและวางแผนการสํารวจที่ไม เหมาะสม เช น การสํารวจความคิดเห็น ของครูวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 3 เกี่ยวกับการใช ผลผลิตของ สสวท. โดยการส งแบบสอบถามทางไปรษณีย อาจจะเกิดความคลาดเคลื่อนได ทั้ง United Nations. (1982). Non-sampling errors in household surveys: sources, assessment and control . Preliminary version. New York: United Nations Department of Technical Co-operation for Development and Statistical Office. สุชาดา กีระนันทน . (2538). ทฤษฎีและวิธีการสำ �รวจตัวอย่าง . กรุงเทพมหานคร: ศูนย หนังสือจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. บรรณานุกรม 3 ประเภท เช น กรอบการเลือกตัวอย างที่ไม สมบูรณ อาจไม ครอบคลุมประชากร บางส วน (Coverage Errors) ผู ตอบแบบสอบถามอาจไม ใช ครูวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษา ป ที่ 3 เช น รองผู อํานวยการฝ ายวิชาการ หรือหัวหน ากลุ มสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร เป นผู ตอบแบบสอบถาม (Response Errors) ครูวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 3 เป นผู ตอบแบบสอบถาม แต ให ข อมูลครบถ วนด วยความเข าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับคําถามใน แบบสอบถาม (Response Errors) ครูวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 3 เป นผู ตอบแบบสอบถาม แต ไม ได ให ข อมูลอย างครบถ วนเนื่องจากไม เข าใจคําถามในแบบสอบถาม (Non-response Errors) แบบสอบถามที่ตอบอย างถูกต องและสมบูรณ โดยครูวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 3 ได ส งคืนกลับมาเพียงบางส วน (Non-response Errors) ดังนั้น ถ าเป นไปได ในการวิจัยเชิงสํารวจจึงควรมีการสํารวจ เบื้องต นก อนการสํารวจจริงเพื่อตรวจสอบและปรับปรุงทั้งวิธีการและเครื่องมือ ให มีความคลาดเคลื่อนน อยที่สุด แต ถ าไม สามารถสํารวจเบื้องต นได ในการ สํารวจจริงจะต องมีการตรวจสอบความคลาดเคลื่อนที่ไม ได เกิดจากการเลือก ตัวอย างและรายงานผลการตรวจสอบดังกล าวในรายงานการวิจัยด วยเพื่อให ผู อ านรายงานระมัดระวังในการนําผลการสํารวจไปใช

RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5