นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 245
48 นิตยสาร สสวท. ดั งนั้น ต้นไม้ 1 ต้น สามารถดูดซับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ได้เฉลี่ย 9 - 15 กิโลกรัม/ปี ช่วยดักจับฝุ่นและมลพิษในอากาศได้ 1.4 กิโลกรัม/ปี (ไทยรัฐออนไลน์, 2566) ซึ่งศักยภาพในการกักเก็บคาร์บอนของต้นไม้ขึ้นอยู่กับอัตราการเติบโตของต้นไม้ และ ปัจจัยแวดล้อม หากปลูกบนพื้นที่ที่เหมาะสมกับชนิดของพืชนั้นๆ ก็จะทำ �ให้ต้นไม้กักเก็บคาร์บอนเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การกักเก็บคาร์บอน ของต้นไม้จะสัมพันธ์กับการสร้างอาหารและการเติบโตของต้นไม้ ถ้าต้นไม้เติบโตมากขึ้นแสดงให้เห็นว่าต้นไม้มีความสามารถในการกักเก็บ คาร์บอนได้มากขึ้น (องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน), 2559) ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนของต้นไม้ ปริมาณคาร์บอน (Carbon Content) ที่สะสมกักเก็บในมวลชีวภาพส่วนต่างๆ ของต้นไม้ ได้แก่ ลำ �ต้น กิ่ง ใบ และราก มีการ แปรผันระหว่างชนิดของพรรณไม้ไม่มากนัก โดยคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) (2006) กำ �หนดให้ค่า Default Value ของปริมาณคาร์บอนในมวลชีวภาพมีค่าร้อยละ 47 ของ น้ำ �หนักแห้ง คู่มือศักยภาพของพรรณไม้สำ �หรับส่งเสริมภายใต้โครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดภาคป่าไม้ (2554) ระบุว่า ปริมาณคาร์บอนในพรรณไม้ชนิดต่างๆ มีการแปรผันระหว่างส่วนต่างๆ ของต้นไม้ (ลำ �ต้น กิ่ง ใบ และราก) แต่มีความใกล้เคียงกัน ระหว่างพรรณไม้แต่ละชนิด ทั้งนี้ ปริมาณคาร์บอนในลำ �ต้นของพรรณไม้ชนิดต่างๆ มีค่าค่อนข้างใกล้เคียงกัน โดยส่วนใหญ่มีค่าเฉลี่ย ประมาณร้อยละ 48 ของน้ำ �หนักแห้ง ในขณะที่ปริมาณคาร์บอนในกิ่ง ใบ และราก มีการแปรผันค่อนข้างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปริมาณคาร์บอนในใบมีการแปรผันระหว่างชนิดของพรรณไม้มากกว่าส่วนอื่นๆ ดังนั้น จึงให้ความสำ �คัญกับปริมาณคาร์บอนในลำ �ต้น เนื่องจากมวลชีวภาพของลำ �ต้นมีสัดส่วนสูงกว่ามวลชีวภาพส่วนอื่นๆ ทั้งนี้ สามารถสรุปเป็นปริมาณคาร์บอนในส่วนต่างๆ ของชนิด/กลุ่ม ของพรรณไม้ ดังตาราง 1 (คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2554) ตาราง 1 ปริมาณคาร์บอนในส่วนต่างๆ ของชนิด/กลุ่มของพรรณไม้ ชนิด/กลุ่มพรรณไม้ สัก ยูคาลิปตัส อะคาเซีย กระถินยักษ์ โกงกาง พืชเกษตร - ยางพารา - ปาล์มน้ำ �มัน พรรณไม้พื้นเมืองโตช้า พรรณไม้อเนกประสงค์ และ พรรณไม้ปลูกในเมือง 48.10 48.24 48.09 48.19 47.57 48.01 41.30 48.72 46.22 49.46 46.13 47.24 47.49 50.55 43.00 47.28 47.01 52.30 49.45 50.37 46.41 52.77 42.00 47.39 46.07 49.19 46.51 49.19 na 47.88 39.40 45.92 48.13 49.88 47.66 48.75 47.15 49.90 41.30 47.33 ปริมาณคาร์บอน (ร้อยละของน้ำ �หนักแห้ง) ลำ �ต้น กิ่ง ใบ ราก เฉลี่ย การคำ �นวณหาปริมาณการกักเก็บคาร์บอนของต้นไม้ การคำ �นวณหาปริมาณการกักเก็บคาร์บอนของต้นไม้ทำ �ได้โดยการประเมินมวลชีวภาพ หรือปริมาณคาร์บอนที่สะสมอยู่ใน รูปของเนื้อไม้ โดยการประเมินความสัมพันธ์ระหว่างเส้นผ่านศูนย์กลางของต้นไม้ที่ระดับความสูง 1.30 เมตร (Diameter at Breast Height: DBH) กับความสูงทั้งหมดของต้นไม้ 1. การเลือกพื้นที่และสุ่มตัวอย่างต้นไม้ 1. สำ �รวจพื้นที่ที่สนใจศึกษา กำ �หนดขนาดพื้นที่ และวัดพิกัดทางภูมิศาสตร์พื้นที่ตัวอย่างที่เป็นตัวแทนในการวัดต้นไม้ 2. สำ �รวจและสุ่มตัวอย่างต้นไม้เพื่อประเมินปริมาณการกักเก็บคาร์บอน สำ �หรับในพื้นที่ที่มีต้นไม้ไม่มากให้วัดทุกต้น แต่ในกรณี ที่มีต้นไม้เป็นจำ �นวนมากให้กำ �หนดแนวทางการสุ่มตัวอย่างในการวัดต้นไม้ดังนี้ (องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน), 2559)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5