นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 245
60 นิตยสาร สสวท. หลากหลายของชนิดพันธุ์พืช หอยเชอรี่ยังเป็นพาหะนำ �พยาธิมาสู่คนได้ แย่งถิ่นอาหารและอาหารของหอยพื้นเมืองที่อยู่อาศัยมาก่อน และจากรายงาน ของกรมประมงได้รายงานสรุปไว้ว่าในปัจจุบันมีแผนการจัดการการแพร่กระจายภายในประเทศแล้ว การแพร่ระบาดมีแนวโน้มคงที่ อันนี้ต่ายว่า เราต้องรอติดตามผลกันต่อไป สิ่งที่น่าจะช่วยได้อีกทางที่ต่ายเห็นจากข่าวก็คือ การที่หอยเชอรี่กลายมาเป็นอาหารของคนไทยเฉพาะกลุ่มและมี ฟาร์มเลี้ยงหอยเชอรี่ในท้องถิ่น ซึ่งก็น่าจะมีส่วนช่วยในการควบคุมปริมาณหอยเชอรี่ได้บ้าง บนโลกของสิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานยังมีสิ่งมีชีวิตอีกหลายชนิดที่เข้ามาในประเทศไทยแล้วรอแค่การรุกราน และสิ่งมีชีวิตที่ กำ �ลังจะเข้ามาในประเทศไทยด้วยเหตุผลอะไรก็แล้วแต่ ต่ายเชื่อว่าวันนึงประเทศไทยจะมีระบบการจัดเก็บ การรวบรวมข้อมูล และการจัดการควบคุม ิ ต QUIZ Saen Hanna กล่าวไว้ว่า “ถ้าสิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ รุกรานได้เข้ามาแล้ว ไม่มีทางที่ จะกำ �จัดมันออกไปได้เลย” ต่าย แสนซน ภาพ 3 แสดงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตในห่วงโซ่อาหารทางตอนเหนือของประเทศ ก่อนและหลังจากการนำ �คางคกอ้อยเข้ามาในประเทศออสเตรเลีย (ที่มา: Radford et al., 2019) จากภาพ 3 ขนาดของสิ่งมีชีวิตในภาพ a และ b ที่แตกต่างกันแสดงให้เห็นถึงการเพิ่มและลดลงของจำ �นวนสิ่งมีชีวิตใน กลุ่มประชากร เช่น ภาพแถวบนสุด (Apex) แสดงผู้ล่าระดับบนสุดในห่วงโซ่อาหาร จะเห็นว่าเมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการเข้ามาของ คางคกอ้อยพบว่าทั้งงูและตะกวดมีขนาดกลุ่มประชากรลดลง แต่ผู้ล่าอันดับ 2 (Meso) เกือบทุกชนิดมีจำ �นวนเพิ่มมากขึ้น เป็นผลมาจาก ผู้ล่าแถวบนสุดลดจำ �นวนลงนั่นเอง และสิ่งมีชีวิตที่เป็นเหยื่อ (Prey) เกือบทุกชนิดมีจำ �นวนลดลง ลูกศรสีชมพูจากคางคกอ้อยแสดงให้เห็นว่า คางคกอ้อยมีผลทำ �ให้สิ่งมีชีวิตปลายลูกศรลดจำ �นวนลงอย่างมาก ซึ่งทั้งหมดเป็นผลกระทบต่อเนื่องจากการนำ �คางคกอ้อยเข้ามาในประเทศ คุณๆ เชื่อไหมว่าผลกระทบจากคางคกอ้อยที่เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานไม่ได้เกิดแค่ในประเทศออสเตรเลียเท่านั้น ยังแพร่กระจาย ไปยังประเทศอื่นๆ ใกล้กับออสเตรเลีย เช่น อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ (ภาพ 4) และไปทำ �ให้ตะกวด (Monitor Lizard) หลายชนิดตาย โดยเฉพาะตะกวดที่ไม่มีประสบการณ์ชีวิตพอเห็นคางคกอ้อยก็คิดว่ากินได้ก็กินเข้าไป ผลก็คือพวกมันต้องตายจากพิษของคางคกที่อยู่บริเวณผิวหนัง นั่นเอง ส่งผลทำ �ให้จำ �นวนประชากรของตะกวดที่อาศัยอยู่เดิมลดจำ �นวนลง นอกจากนี้ ยังพบเพิ่มเติมอีกว่าปรสิตที่อาศัยในร่างกายของคางคกอ้อย ก็ไปมีผลทำ �ให้สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในท้องถิ่นเกิดโรค ล้มตาย เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อโรคขึ้นในชุมชน เรียกว่าเป็นภัยคุมคามที่น่ากลัวมากเลยทีเดียว สุดท้าย จากเรื่องราวที่ต่ายนำ �เสนอทำ �ให้ต่ายนึกถึง “หอยเชอรี่ หรือ Apple Snail ชื่อวิทยาศาสตร์ Pomacea analiculata ” ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานที่มี ถิ่นกำ �เนิดที่ประเทศอาร์เจนตินา และอุรุกวัย ที่ถูกนำ �เข้ามา โดยผู้ซื้อขายสัตว์เลี้ยงและผู้ประกอบการฟาร์มเพาะเลี้ยง สัตว์น้ำ �และปัจจุบันได้หลุดเข้ามาอาศัยในประเทศไทยทั่วทั้ง ประเทศทั้งแหล่งน้ำ �ในธรรมชาติและในเขตพื้นที่อนุรักษ์ โดย สิ่งที่รับรู้ได้จากสื่อต่างๆ ก็คือ หอยเชอรี่ชอบกินต้นอ่อนข้าว มากๆ รวมทั้งกัดกินทำ �ลายพืชน้ำ �หลายชนิดจนเป็นสาเหตุ ทำ �ให้มีการเปลี่ยนแปลงของสังคมพืช การลดลงของความ ภาพ 4 ภาพแสดงการแพร่กระจายของคางคกอ้อยไปเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน ในประเทศอื่นๆ ที่ติดกับออสเตรเลีย (ที่มา: Pettit et al., 2021) ปัญหาของสิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานได้อย่างมีประสิทธิภาพโดย ไม่รอให้เกิดปัญหาขึ้นก่อนแล้วจึงเข้ามาจัดการและดูแล ถ้าทำ �ได้ก็จะทำ �ให้ ประเทศไทยมีความเสี่ยงลดลงสำ �หรับการเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม และการสูญพันธุ์ ของสิ่งมีชีวิตท้องถิ่น หากคุณๆ สนใจหรืออยากให้ต่ายติดตามเรื่องราวอะไร เป็นพิเศษ เช่นเดิมสามารถเขียน e-mail ส่งมาบอกกล่าวหรือมาคุย กับต่ายได้เหมือนเดิม ที่ funny_rabbit@live.co.uk ส่งท้ายปีเก่า ชีวิตไฉไล สุขภาพดีถ้วนหน้ากันทุกคน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NzI2NjQ5